Home
Add Document
Sign In
Register
เอกเทศ2
Home
เอกเทศ2
...
Author:
Mesut Ozil Gunner
70 downloads
421 Views
105KB Size
Report
DOWNLOAD .PDF
Recommend Documents
master_en_pnl-3-2-2-2-2-1
pnlDescripción completa
2
Full description
2
2
corregidoDescripción completa
2
2
2
Full description
2
2
Descripción: sn d ofnsdc oefnsd
2
2Descripción completa
2
caracterisiticasDescripción completa
2
aFull description
2
ejerc semana 6Descripción completa
2.
Descripción: edades
2
2
2
Descripción: Mata vela
2
Razgovori sa TeslomFull description
2
Descrição completa
2
ghghDescripción completa
2
second, time
2
Descripción: des
2
Descripción: TSSS
2
สรุปวิชาเอกเทศสัญญา 2 การกูยืมเงิน 1 ยืมเงิน ม.653 ว.1 วางหลักไววา “การกูยืมเงินเกินกวาสองพันบาทขึ้นไป ถามิไดมีหลักฐานเปน หนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูยืมเปนสําคัญ จะฟองรองบังคับคดีกันไมได” หลักกฎหมาย - กฎหมายแกไขวงเงินจากเดิม 50 บาท เปน 2,000 บาท - การกูย ืมเงินไมวาจะจํานวนเทาใด จะมีหลักฐานเปนหนังสือหรือไมมีก็ได - แตการกูยืมเงินเกินกวา 2,000 บาท (ไมรวม 2,000 บาท) ถาไมมีหลักฐานเปนหนังสือลง ลายมือชื่อผูยืมเปนสําคัญ จะฟองรองบังคับคดีกันไมได - หลักฐานเปนหนังสือไมใชแบบ แตอาจเปนหลักฐานอะไรก็ได เชน จดหมาย บันทึกการเปนหนี้ รายงานการประชุม ฯลฯ สิ่งสําคัญคือ ตองมีขอความแสดงการเปนหนี้สนิ และลง ลายมือชื่อผูยืมเปนสําคัญก็เพียงพอแลว - การกูย ืมเงินไมเกิน 2,000 บาท ไมมีหลักฐานเปนหนังสือก็ฟองรองบังคับคดีกันได โดย สามารถนําสืบพยานบุคคลได ม.653 ว.2 วางหลักไววา “การกูเงินที่มีหลักฐานเปนหนังสือนั้น จะนําสืบการใชเงินได ตอเมื่อมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปน หลักฐานแหงการกูยมื นั้นไดเวนคืนแลว หรือไดแทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นแลว” หลักกฎหมาย - การกูย ืมเงินตามความหมายในวรรคนี้ ไมคํานึงวาจะวงเงินกูจะเปนจํานวนเทาใด จะนอยกวาหรือมากกวา 2,000 บาทก็ได - แตเงื่อนไขสําคัญคือ เมื่อใดที่การกูเงินมีหลักฐานเปนหนังสือ การนําสืบการใช เงินแกผใู หยืมก็ตองมีหลักฐานเปนหนังสือดวยเชนกัน - หลักฐานเปนหนังสือเหลานี้ ไดแก * เอกสารใดๆ ที่ลงลายมือชื่อของผูใหยืมเปนสําคัญ …..เชน ใบเสร็จรับเงินจดหมาย บันทึกใดๆ ฯลฯ * สัญญากูยืมเงินที่ผูใหกูสงคืนใหผูยืม …..การสงคืนตองเปนเจตนาของผูใหยืม * การบันทึกการชําระหนี้ลงในสัญญากูยืมเงิน ……ผูใหยืมเปนผูแทงเพิกถอน - เนื่องจากเปนการนําสืบ “การใชเงิน” ชําระหนีใ้ หแกผใู หยืม จึงไมสามารถนําไปใชบังคับ ตาม ม.656 ว.2 ซึ่งเปนกรณีการชําระหนีด้ ว ยสิ่งของหรือทรัพยสิน - กรณีการชําระหนีด้ วยสิ่งของหรือทรัพยสินแทนเงินนัน้ ถาหากผูใหกูยอมรับการชําระหนี้ ดวยสิ่งของหรือทรัพยสินนั้นแทนเงิน ก็ยอมกระทําไดตาม ม.321
ดอกเบี้ยเงินกู ม.654 วางหลักไววา “หามมิใหคิดดอกเบีย้ เกินกวารอยละสิบหาตอป ถาในสัญญากําหนด ดอกเบี้ยเกินกวานั้น ใหลดลงมาเปนรอยละสิบหาตอป” หลักกฎหมาย – - กรณีที่สัญญากูยืมเงินไมไดกําหนดเรื่องอัตราดอกเบี้ยไว ใหคิดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป ตาม ม.7 - กรณีที่สัญญากูยืมเงินกําหนดเพียงวา ใหเรียกดอกเบี้ยไดตามกฎหมาย ใหคิดอัตรา ดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป ตาม ม.7 - กรณีที่สัญญากูยืมเงินกําหนดเรื่องอัตราดอกเบี้ยไว ใหคิดอัตราดอกเบี้ยไมเกินรอยละ 15 ตอป ตาม ม.654 - กรณีที่สัญญากูยืมเงินไดตกลงเรื่องอัตราดอกเบี้ยเกินกวารอยละ 15 ตอป ดอกเบี้ยเปน โมฆะทั้งหมด และตองลดลงมาเปนรอยละ 15 ตอป ตาม ม.654 - ดอกเบีย้ ตามสัญญากูยืมเงินเปนโมฆะเพราะเกินอัตราที่กฎหมายกําหนดไว ผูใหกไู มมี สิทธิไดรับดอกเบี้ยตั้งแตวนั ทําสัญญา - การคิดดอกเบี้ยการกูย ืมเงินในอัตราไมเกินรอยละ 15 ตอปนั้น มีเฉพาะในการกูย ืมเงิน ระหวางเอกชนกับเอกชน ดอกเบี้ยทบตน ม.655 วางหลักไววา “หามมิใหคิดดอกเบีย้ ในดอกเบี้ยที่คา งชําระ เวนแตดอกเบีย้ คางชําระ ไมนอยกวาปหนึ่ง และคูสัญญากูยืมตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงิน ใหคิดดอกเบี้ยใน จํานวนที่ทบเขากันนั้นได แตการตกลงนั้นตองทําเปนหนังสือ กรณีมีประเพณีการคาขายทีค่ ํานวณดอกเบี้ยทบตนในบัญชีเดินสะพัดก็ดี หรือการคาขาย อยางอื่นทํานองเดียวกับบัญชีเดินสะพัดก็ดี ไมไดอยูใ นบังคับในวรรคหนึ่ง” หลักกฎหมาย – - ถาดอกเบีย้ คางชําระยังไมเกิน 1 ป หามนํามาคิดดอกเบีย้ ทบตน - ถาดอกเบีย้ คางชําระนานเกินกวา 1 ป ใหนํามาคิดดอกเบี้ยทบตนได แตตอง * คูสัญญาตองตกลงกันกอนวา ใหนํามาคิดดอกเบี้ยทบตนได * ขอตกลงนั้น ตองทําเปนหนังสือ - กรณีตามวรรค 2 กฎหมายใหคิดดอกเบี้ยทบตนได
กฎหมายลักษณะฝากทรัพย มีเรื่องสําคัญที่เกี่ยวของอยู 2 เรื่องหลักๆ คือ (1) การฝากทรัพย ม.657 – 671 (2) การฝากทรัพยชนิดพิเศษ มี 2 กรณี คือ - การฝากเงิน ม.672 – 673 - การฝากทรัพยกับเจาสํานักโรงแรม ม.674 – 679 การฝากทรัพย ฝากทรัพย คือสัญญาซึ่งผูฝากสงมอบทรัพยสินใหแกผูรบั ฝาก และผูรับฝากตกลงวาจะเก็บ รักษาทรัพยสนิ นั้นไวในอารักขาแหงตนแลวจะคืนให ตาม ม.657 สัญญาฝากทรัพย มีลักษณะทั่วไป 5 ประการ ดังนี้คือ 1. เปนสัญญาที่มีคูสัญญา 2 ฝาย ไมมีแบบหรือไมตองมีหลักฐานเปนหนังสือ - เมื่อมีคําเสนอและคําสนองตรงกัน แมจะตกลงกันดวยวาจาก็ใชไดแลว - เปนสัญญาไมมีแบบหรือไมตองมีหลักฐานเปนหนังสือก็ฟองรองบังคับคดีกันได 2. เปนสัญญาประเภทที่บริบรู ณดวยการสงมอบทรัพยสินที่ฝาก …..เปนการสงมอบการ ครอบครอง - การสงมอบโดยตรง เชน การหยิบยืน่ ทรัพยสินที่ฝากใหผูรับฝาก - การสงมอบโดยปริยาย เชน การมอบกุญแจใหผูรับฝาก 3. วัตถุแหงสัญญาฝากทรัพยตองเปนทรัพยสินเทานัน้ - ทรัพยสิน หมายรวมถึงทรัพยและวัตถุไมมีรูปรางซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได - ยกเวน ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร สิทธิในเครื่องหมายการคา 4. หนี้ของสัญญาฝากทรัพย คือผูรับฝากตกลงวาจะเก็บรักษาทรัพยสินนั้นไวในอารักขา แหงตนแลวจะคืนให …..หนี้ในที่นหี้ มายถึงหนาที่ กลาวคือ - เมื่อผูฝากสงมอบทรัพยสินที่ฝากแลว ผูรับฝากเขาครอบครองและตองรักษาทรัพยสนิ นั้น - ผูรับฝากตองรักษาทรัพยสนิ ดวยความระมัดระวังและตองสงคืนใหแกผูฝาก ไมเอาไปหา ประโยชนอื่นใดนอกเหนือจากการรับฝาก ั ญาตอบแทน เวนแตจะตกลงวามีคาตอบแทน 5. เปนสัญญาไมตางตอบแทน และไมมีสญ หรือโดยพฤติการณพึงคาดหมายไดวามีคา ตอบแทน …..กรณีมีคาตอบแทนหรือคาบําเหน็จ มีได 2 กรณีคือ - ตกลงโดยชัดแจง หมายถึง ผูฝากและผูรับฝากไดตกลงกันไว - ตกลงโดยปริยาย หมายถึง โดยพฤติการณพึงคาดหมายไดวา เขารับฝากก็เพื่อจะได บําเหน็จ
คาฝากทรัพยสินนั้น ตาม ม.658 การฝากทรัพยนั้น อาจจะทําใหเปลา เชนเพื่อนบานฝากขาวของกันยามไมอยูบาน …… หรือมีบําเหน็จ เชน ฝากของตามสถานีขนสง หรือฝากกับผูมีอาชีพรับฝาก เปนตน หนาที่ของผูรบั ฝาก ไดแก หนาที่ในการสงวนรักษาทรัพยสินที่ฝาก (ม.659) - กรณีไมมีบําเหน็จคาฝาก …..ตองสงวนรักษาทรัพยสนิ นั้นเสมือนทรัพยสินของตนเอง - กรณีมีบําเหน็จคาฝาก …..ตองใชฝมือเพือ่ รักษาทรัพยสินเชนวิญูชนพึงใช - กรณีมีบําเหน็จคาฝาก และผูรับฝากเปนผูประกอบอาชีพเพื่อการนัน้ …..นอกจากตองใช ฝมือเชนวิญูชนพึงใชแลว ยังตองใชฝมือเชนคนประกอบอาชีพพึงใชดวย การฝากทรัพยกับเจาสํานักโรงแรม โรงแรม หมายความถึง บรรดาสถานที่ทุกชนิดที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรับสินจางสําหรับคนเดินทาง หรือบุคคลที่ประสงคจะหาทีอ่ ยูหรือที่พักชัว่ คราว ……….ปจจุบันมีสถานที่จัดใหบคุ คลเขาพัก แต ใชชื่ออื่น เชน แฟลต อพารทเมนต คอรท เกสทเฮาส หรือหอพัก เปนตน สถานที่เหลานี้จะมี ความหมายเปนโรงแรม ตองมีองค ประกอบ ดังนี้ - เปนการพักแรมชั่วคราวนอยกวา 1 เดือน - เปนสถานทีท่ ี่มีบริการขายอาหารและเครือ่ งดื่ม โฮเต็ล ที่บัญญัติแยกความหมายจากคําวาโรงแรม เนื่องจากในขณะประกาศใชกฎหมาย บรรพนี้ ยังสบสนเรื่องคําแปลภาษาไทย แตปจจุบันมีความหมายเดียวกัน สถานที่อื่นทํานองเชนวานั้น หมายความถึงสถานที่ทํานองเดียวกับโรงแรม เชนที่พกั คน เดินทางที่มีเครื่องเรือนพรอม สําหรับผูมีรถยนตหรือรถจักรยานยนตขบั มาพักแรมระหวางเมืองตอ เมืองในตางประเทศ ที่เรียกวา motel คนเดินทางหรือแขกอาศัย หมายความถึง ผูพ ักอาศัยในโรงแรม หรือโฮเต็ล หรือสถานที่อื่น ทํานองเชนวานั้น โดยเสียคาที่พัก ……ตอไปนี้จะใชเพียงคําวา “ผูพักอาศัย” สวนสถานที่จะใชคําวา “โรงแรม” และความหมายของคําทั้งสองที่ไดกลาวมาในเบื้องตน จะตองดูความหมายตาม พรบ. โรงแรม พ.ศ. 2547 มาตรา 4 ทรัพยสินที่ฝาก สามารถแบงออกเปน 2 กลุม ดังนี้คือ (1) ทรัพยสินทั่วไปที่ผูพักอาศัยนํามาดวย เชน กระเปาเดินทาง รถยนต เครื่องเลนกีฬา ฯลฯ (2) ทรัพยสินอื่นซึ่งระบุใน ม.675 ว.2 เชน เงินทองตรา ธนบัตร ตั๋วเงิน พันธบัตร ใบหุน ใบ หุนกู ใบประทวนสินคา อัญมณี หรือของมีคาอื่นๆ
ลักษณะการฝากทรัพยสินกับโรงแรม …….กิจการโรงแรมเปนการคาซึ่งคิดคาตอบแทน จากผูพักอาศัย สวนทรัพยสนิ ที่ผูพักอาศัยพามานั้น กฎหมายไดกําหนดวิธีการและความรับผิด เฉพาะไว 2 กรณี กลาวคือ 1. การฝากทรัพยโดยตรง หรือโดยสัญญาฝากทรัพยเฉพาะราย หมายความถึง - ทรัพยสินซึ่งผูพักอาศัยพามานั้น จะตองฝากไวแกเจาสํานักโรงแรมโดยตรง และตองบอก ราคาของทรัพยสินนั้นไวชัดแจงดวย - ถาเขาองคประกอบครบทั้ง 2 ประการ ทรัพยสินนัน้ ไดโอนสิทธิการครอบครองไปยังเจา สํานักโรงแรมแลว (ผูแทนเจาสํานักโรงแรมรับแทนก็ถือวาใชไดแลว) - เจาสํานักโรงแรมตองรับผิดเหมือนกรณีการฝากทรัพยธรรมดา - หากทรัพยสนิ นั้นสูญหายหรือบุบสลาย เจาสํานักโรงแรมตองชดใชตามราคาทรัพยสิน นั้น 2. การฝากทรัพยโดยปริยาย หรือโดยผลของกฎหมาย หมายความถึง - ทรัพยสินซึ่งคนเดินทางหรือแขกอาศัยไดพามาหรือเอาไวในโรงแรม โดยไมจําเปนตอง บอกฝากไวเหมือนกรณีการฝากทรัพยโดยตรง - ทรัพยสินเหลานั้น เทากับเอามาเก็บรักษาไวในอารักขาของเจาของโรงแรมโดยปริยาย แลว - ทรัพยสินที่สญ ู หายหรือบุบสลายเฉพาะรายการตาม ม.675 ว.2 เทานั้น ที่เจาสํานักโรงแรม จะรับผิดเพียง 5,000 บาท ไมวาของมีคาจะมีจํานวนกี่สิ่งก็ตาม หรือมีคา มากแคไหนก็ตาม เจาสํานัก โรงแรม ตามความหมายใน ม.674 หมายความถึง (1) เจาของ ผูควบคุมดูแล หรือผูจัดการโรงแรม (2) เจาสํานักอาจไมใชเจาของกรรมสิทธิ์ในสถานที่โรงแรม อาจเปนเพียงผูเชาสถานที่มา จัดทําเปนโรงแรมก็ได (3) เจาสํานักโรงแรมตองมีอํานาจควบคุมและจัดการโรงแรมได (4) เมื่อทรัพยสินที่ผูพักอาศัยพามาเกิดสูญหายหรือบุบสลายระหวางพักในโรงแรม เจา สํานักโรงแรมตองรับผิด …..สวนจะรับผิดแคไหน เปนอีกเรื่องหนึ่ง หนาที่ของเจาสํานักโรงแรม คือใหความปลอดภัยแกทรัพยสินของคนเดินทางหรือแขกอาศัย ซึ่ง ความรับผิดชอบเชนนี้ แยกออกได 2 ประการ คือ 1. ความรับผิดชดใชราคาทรัพยสินโดย “ไมจํากัด” จํานวนเงิน - ตองเปนทรัพยสินที่ผูพักอาศัยพามาระหวางพักโรงแรม (ม.674) - เปนทรัพยสินใดๆ ที่อยูน อกเหนือรายการตาม ม.675 ว.2 - ทรัพยสินระบุใน ม.675 ว.2 ผูพักอาศัยตองบอกฝากและแจงราคาของทรัพยสินนั้นตอเจา
สํานักโรงแรม จึงจะไดรับการชดใชทรัพยสินตามราคาจริง - แมการสูญหายหรือบุบสลายจะเกิดจากผูค นไปมาเขาออกโรงแรมก็ตาม (ม.675 ว.1) 2. ความรับผิดชดใชราคาทรัพยสินโดยจํากัดจํานวนเงิน - ตองเปนทรัพยสินที่ผูพักอาศัยพามาระหวางพักโรงแรม (ม.674) - ทรัพยสินระบุใน ม.675 ว.2 นั้น ถาผูพักอาศัยไมไดบอกฝากและแจงราคาของทรัพยสิน นั้นตอเจาสํานักโรงแรม จะไดรับการชดใชทรัพยสินตามราคาเพียง 500 บาท เทานั้น ไมวาของมีคาจะมีจํานวนกีส่ ิ่งก็ตาม หรือมีคามากแคไหนก็ตาม ขอยกเวนความรับผิดของเจาสํานักโรงแรม (1) ไมตองรับผิด เพื่อความสูญหายหรือบุบสลายอันเกิดแตเหตุสุดวิสัย (ม.675 ว.3) (2) ไมตองรับผิด เพราะความสูญหายหรือบุบสลายอันเกิดแตสภาพแหงทรัพยนั้น (ม.675 ว.3) ……..สภาพแหงทรัพยในที่นี้หมายถึง ของฝากที่เปนของสดของเนาเสียงาย (3) ไมตองรับผิด เพราะความสูญหายหรือบุบสลายอันเกิดแตความผิดของผูพักอาศัย หรือ บริวารของเขาหรือบุคคลอื่นซึ่งเขาไดตอนรับ (ม.675 ว.3) (4) ไมตองรับผิด เมื่อผูพักอาศัยพบเห็นความสูญหายหรือบุบสลายแลวไมแจงความตอเจา สํานักโรงแรมทันที (ม.676) (5) ไมตองรับผิด เมื่อผูพักอาศัยไดตกลงดวยชัดแจงในขอความยกเวนหรือจํากัดความรับ ผิด (ม.677) เชน โรงแรมสวีเดน มีแจงความของลงแรมวาจะไมรับผิดชอบในทรัพยสนิ ของผูพัก อาศัยที่นํามาไวในโรงแรมและสูญหายหรือบุบสลายไป เชนนี้พิจารณาได 2 กรณี คือ - ขอความที่แจงเปนโมฆะ ตาม ม.677 เจาสํานักโรงแรมไมพนความรับผิด - แตถาผูพักอาศัยไปลงชื่อในเอกสารที่มีขอความดังกลาว เจาสํานักโรงแรมไมตองรับผิด สิทธิของเจาสํานักโรงแรม มีเหนือทรัพยสินของคนเดินทางหรือแขกอาศัยที่เอาไวในโรงแรม 2 ประการ คือ 1. สิทธิยึดหนวงเครื่องเดินทางหรือทรัพยสินอื่นอันเอาไวในโรงแรม (ม.679 ว.1) 2. สิทธิเอาออกขายทอดตลาดเพื่อหักใชหนี้แกตน (ม.679 ว.2) ซึ่งการเอาทรัพยสินของผู พักอาศัยออกขายทอดตลาดได ตองอยูภ ายใตเงื่อนไข ดังนี้ - เมื่อทรัพยสนิ ของผูพักอาศัยอยูในความยึดครองของเจาสํานักโรงแรมนานถึง 6 สัปดาห แลวยังไมมีการชําระหนี้คางชําระ - เจาสํานักโรงแรมตองลงประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพประจําทองถิน่ กอนวันขายทอด ตลาดไมนอยกวา 1 เดือน (1 เดือนพอดี หรือเกินกวานัน้ ) - เมื่อขายทอดตลาดแลวมีเงินเหลือเทาใด ใหคืนแกเจาของ (ม.679 ว.3) หนาที่ของคนเดินทางหรือแขกอาศัย ที่มีตอ เจาสํานักโรงแรมนั้น มี 2 ประการ คือ
1. หนาที่ใชเงินเพื่อการพักอาศัย การอื่นอันเจาสํานักโรงแรมทําใหและเงินที่เจาสํานัก โรงแรมออกแทนไป (ม.679 ว.1) 2. หนาที่แจงความตอเจาสํานักโรงแรมทันทีที่พบเห็นวา ทรัพยสินของตนสูญหายหรือบุบ สลาย (ม.676) สิทธิของคนเดินทางหรือแขกอาศัย ที่มีตอเจาสํานักโรงแรมนั้น มี 2 ประการ คือ 1. สิทธิที่จะไดรับชดใชที่ทรัพยสินของตนสูญหายหรือบุบสลาย (ม.674 , 675) 2. สิทธิที่จะไมตกลงในการยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของเจาสํานักโรงแรม (ม. 677) อายุความสําหรับการฝากเจาสํานักโรงแรม แบงออกเปน 2 ชนิด คือ (1) การเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทน เมื่อทรัพยสินของคนเดินทางหรือแขกอาศัยสูญ หายหรือบุบสลาย มีอายุความ 6 เดือน ตาม ม.678 (2) การเรียกใหคืนทรัพยสินหรือราคาทรัพยสินที่หลงลืมไว มีอายุความ 10 ป ตาม ม. 193/30 ตัวแทน หนาที่และความรับผิดระหวางตัวการตัวแทนเปนอยางไร ? - หนาทีแ่ ละความรับผิดของตัวแทนตอตัวการ ….. 807 – 814 - หนาทีแ่ ละความรับผิดของตัวการและตัวแทนตอบุคคลภายนอก ….. 820 – 825 สัญญาตัวแทนระงับไดอยางไร ? ….. 826 – 832 การแตงตั้งตัวแทน เปนการแสดงออกซึ่งเจตนาของบุคคล 2 ฝาย ซึ่งอาจแตงตั้งได 4 กรณี คือ (1) การแตงตั้งแสดงออกโดยชัดเจน …… ม.797 ว.2 (2) การแตงตั้งโดยปริยาย …… ม.797 ว.2 (3) การแตงตั้งโดยผลของกฎหมาย …… ม.821 (4) การแตงตั้งโดยการใหสัตยาบัน …… ม.823 “ตัวแทน” กับ “ผูแทน” ตางกันอยางไร ? - ตัวแทน เปนบุคคลที่มีขอตกลงใหทํากิจการแทนตัวการ หากทําละเมิดตอบุคคลภายนอก ตัวการอาจตองรวมรับผิดดวย - ผูแทน เปนตัวแทนที่อิสระและมีอํานาจเหนือตัวการ หากทําละเมิดตอบุคคลภายนอก ตัวการไมตองรวมรับผิด …..เชน ผูแทนนิติบุคคล บิดามารดาเปนผูแทนโดยชอบธรรม ของบุตรผูเยาว เปนตน
ตัวแทนทําการโดยปราศจากอํานาจหรือนอกเหนือขอบอํานาจ ม.823 วางหลักไววา “ถาตัวแทนกระทําการอันใดอันหนึง่ โดยปราศจากอํานาจก็ดี หรือทํา นอก เหนือขอบอํานาจก็ดี ยอมไมผูกพันตัวการ เวนแตตวั การจะใหสัตยาบันแกการนัน้ ถาตัวการไมใหสัตยาบัน ตัวแทนยอมตองรับผิดตอบุคคลภายนอกโดยลําพังตนเอง เวนแตจะพิสูจน ไดวาบุคคลภายนอกนั้นไดรูอยูวา ตัวแทนทําการโดยปราศจากอํานาจหรือทํานอกเหนือขอบ อํานาจ” คําอธิบาย – เปนตัวการตัวแทนกันอยูกอนแลว - การกระทําของตัวแทนที่ไมผูกพันตัวการ เกิดขึ้นได 2 กรณี คือ * ตัวการไมไดมอบอํานาจใหทําการนั้น แตตัวแทนไปทํากับบุคคลภายนอก โดยปราศจากอํานาจ * ตัวการมอบอํานาจใหทําการนั้น แตตวั แทนไปทํากับบุคคลภายนอกโดยทํา นอกเหนือขอบอํานาจ - บุคคลภายนอกไมรู จึงเขามาทํากิจการกับตัวแทนดวย ผลทาง กม. – ตัวการไมตอ งรับผิดตอบุคคลภายนอก เวนแตตัวการจะใหสัตยาบันตอการทําการ ของตัวแทน ตาม ม.823 ว.1 - ถาตัวการไมใหสัตยาบัน ตัวแทนตองรับผิดตอบุคลภายนอกเพียงลําพัง เวนแตจะ พิสูจนไดวา ขณะเขาทําการนั้นบุคคลภายนอกไดรแู ลววา ตัวแทนไดทาํ ไปโดย ปราศจากอํานาจหรือทํานอกเหนือขอบอํานาจ ตาม ม.823 ว.2 ตัวแทนตองรับผิดตอตัวการในความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะเหตุตอไปนี้ (ม.812) - เพราะความประมาทเลินเลอของตัวแทน - เพราะไมทําการเปนตัวแทน - เพราะทําโดยปราศจากอํานาจหรือทํานอกเหนือขอบอํานาจ ตาม ม.823 สัญญาตัวแทนระงับไดอยางไร ? สาเหตุที่ทําใหสัญญาตัวแทนระงับสิ้นไป ปรากฏใน ม.826 ซึ่งไดแก - ตัวการเลิกถอนตัวแทน - ตัวแทนบอกเลิกการเปนตัวแทน - ฝายใดฝายหนึ่งตาย - ฝายใดฝายหนึ่งกลายเปนผูไรความสามารถ - ฝายใดฝายหนึ่งกลายเปนคนลมละลาย นายหนา
มาตรา 845 มาตรา 846
สรุปสาระสําคัญ เพื่อใชในการเตรียมสอบ ภาค 1/2553 ป.พ.พ. มาตรา650 , 653 การกูยืมเงิน ป.พ.พ. 659, 660 การฝากทรัพย ป.พ.พ. มาตรา 674, 675 ,676,677 วิธีเฉพาะเจาสํานัก ป.พ.พ. มาตรา 812, 820, 823, 826 , 831 ตัวแทน ป.พ.พ. มาตรา 845, 846 นายหนา ใหนกั ศึกษา พิจารณาหลักกฎหมายดังกลาวเปนหลัก เพือ่ เตรียมตัวสอบปลายภาคนี้
×
Report "เอกเทศ2"
Your name
Email
Reason
-Select Reason-
Pornographic
Defamatory
Illegal/Unlawful
Spam
Other Terms Of Service Violation
File a copyright complaint
Description
×
Sign In
Email
Password
Remember me
Forgot password?
Sign In
Our partners will collect data and use cookies for ad personalization and measurement.
Learn how we and our ad partner Google, collect and use data
.
Agree & close