เซต เซตจํากัด คือ เซตที่สามารถระบุจํานวนสมาชิกได เซตอนันต คือ เซตที่มีจํานวนสมาชิกมากมาย เซตวาง คือ เซตที่ไมมีสมาชิก หรือมีจํานวนสมาชิกเปนศูนย เขียนแทนดวย φ หรือ { } ตัวอยางที่ 1 ให A เปนเซตจํากัด และ B เปนเซตอนันต ขอความใดตอไปนี้เปนเท็จ 1) มีเซตจํากัดที่เปนสับเซตของ A 2) มีเซตจํากัดที่เปนสับเซตของ B *3) มีเซตอนันตที่เปนสับเซตของ A 4) มีเซตอนันตที่เปนสับเซตของ B
จํานวนสมาชิกของเซตจํากัด ให n(A) แทนจํานวนสมาชิกของเซต A 1. n(U) = n(A) + n(A′) 2. n(A U B) = n(A) + n(B) - n(A I B) 3. n(A U B U C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A I B) - n(A I C) - n(B I C) + n(A I B I C) 4. n(A - B) = n(A) - n(A I B)
คณิตศาสตร (2)_______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ตัวอยางที่ 2 ถากําหนดจํานวนสมาชิกของเซตตางๆ ตามตารางตอไปนี้ เซต จํานวนสมาชิก
AUB 25
AUC 27
BUC 26
AUBUC 30
แลวจํานวนสมาชิกของ (A I B) U C เทากับขอใดตอไปนี้ *1) 23 2) 24 3) 25
AIBIC 7 4) 26
ตัวอยางที่ 3 นักเรียนกลุมหนึ่งจํานวน 46 คน แตละคนมีเสื้อสีเหลืองหรือเสื้อสีฟาอยางนอยสีละหนึ่งตัว ถา นักเรียน 39 คนมีเสื้อสีเหลือง และ 19 คนมีเสื้อสีฟา แลวนักเรียนกลุมนี้ที่มีทั้งเสื้อสีเหลืองและเสื้อ สีฟามีจํานวนเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 9 2) 10 3) 11 *4) 12
ตัวอยางที่ 4 นักเรียนกลุมหนึ่งจํานวน 50 คน มี 32 คน ไมชอบเลนกีฬาและไมชอบฟงเพลง ถามี 6 คน ชอบฟง เพลงแตไมชอบเลนกีฬา และมี 1 คน ชอบเลนกีฬาแตไมชอบฟงเพลง แลวนักเรียนในกลุมนี้ที่ชอบ เลนกีฬาและชอบฟงเพลงมีจํานวนเทากับขอใดตอไปนี้ *1) 11 คน 2) 12 คน 3) 17 คน 4) 18 คน
ตัวอยางที่ 5 กําหนดให A และ B เปนเซต ซึ่ง n(A U B) = 88 และ n[(A - B) U (B - A)] = 76 ถา n(A) = 45 แลว n(B) เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 45 2) 48 3) 53 *4) 55
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_______________________________ คณิตศาสตร (3)
ตัวอยางที่ 6 ในการสอบถามพอบานจํานวน 300 คน พบวามีคนที่ไมดื่มทั้งชาและกาแฟ 100 คน มีคนที่ดื่มชา 100 คน และมีคนที่ดื่มกาแฟ 150 คน พอบานที่ดื่มทั้งชาและกาแฟมีจํานวนเทาใด (ตอบ 50 คน)
สับเซต บทนิยาม เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อสมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B และ เขียนเปนสัญลักษณ คือ A ⊂ B ตัวอยางที่ 7 ให A = {1, 2} และ B = {1, 2, 3, 4, 5} เนื่องจากสมาชิกของเซต A ทุกตัวเปนสมาชิกของ เซต B ดังนั้น A ⊂ B
เพาเวอรเซต บทนิยาม เพาเวอรเซตของเซต A คือ เซตที่มีสมาชิกเปนสับเซตทั้งหมดของเซต A เขียนแทนดวย P(A) ตัวอยางที่ 8 ให A = {1, 2, 3} จะไดสับเซตทั้งหมดของ A ไดแก φ, {1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}, {1, 2, 3} P(A) = {φ, {1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}, {1, 2, 3}}
สมบัติของสับเซตและเพาเวอรเซต 1. φ เปนสับเซตของเซตทุกเซต 2. φ เปนสมาชิกของเพาเวอรเซตเสมอ 3. A ⊂ A 4. A ∈ P(A) 5. ถา A ⊂ B แลว P(A) ⊂ P(B) 6. จํานวนสับเซตของเซต A ทั้งหมดเทากับ 2n(A) 7. จํานวนสมาชิกของ P(A) ทั้งหมดเทากับ 2n(A)
คณิตศาสตร (4)_______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
การดําเนินการทางเซต 1. ยูเนียน เซต A ยูเนียนกับเซต B คือ เซตที่มีสมาชิกเปนสมาชิกของเซต A หรือเซต B เขียนแทนดวย AUB 2. อินเตอรเซกชัน เซต A อินเตอรเซกชันกับเซต B คือ เซตที่มีสมาชิกเปนสมาชิกของเซต A และเซต B เขียนแทนดวย A I B 3. ผลตาง ผลตางของ A และ B คือ เซตที่มีสมาชิกในเซต A แตไมเปนสมาชิกในเซต B เขียนแทนดวย A-B 4. คอมพลีเมนต ถา A เปนเซตเซตใดในเอกภพสัมพันธ U แลว คอมพลีเมนตของเซต A คือ เซตที่มี สมาชิกเปนสมาชิกของ U แตไมเปนสมาชิกของ A เขียนแทนดวย A′ ตัวอยางที่ 9 กําหนดให U A B จะได A U B AIB A-B B-A A′ และ B′
= = = = = = = = =
{1, 2, 3, ..., 10} {1, 2, 4, 8} {2, 4, 6, 10} {1, 2, 4, 6, 8, 10} {2, 4} {1, 8} {6, 10} {3, 5, 6, 7, 9, 10} {1, 3, 5, 7, 8, 9}
ตัวอยางที่ 10 ถา A - B = {2, 4, 6}, B - A = {0, 1, 3} และ A U B = {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8} แลว A I B เปนสับเซตในขอใดตอไปนี้ 1) {0, 1, 4, 5, 6, 7} 2) {1, 2, 4, 5, 6, 8} *3) {0, 1, 3, 5, 7, 8} 4) {0, 2, 4, 5, 6, 8}
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_______________________________ คณิตศาสตร (5)
การใหเหตุผล การใหเหตุผลทางคณิตศาสตรที่สําคัญมีอยู 2 วิธี ไดแก 1. การใหเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) หมายถึง วิธีการสรุปผลในการคนหาความจริง จากการสังเกตหรือการทดลองหลายๆ ครั้งจากกรณี ยอยแลวนํามาสรุปเปนความรูแบบทั่วไป 2. การใหเหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning) หมายถึง วิธีการสรุปขอเท็จจริงโดยการนําความรูพื้นฐาน ความเชื่อ ขอตกลง หรือบทนิยาม ซึ่งเปนสิ่ง ที่รูมากอนและยอมรับวาเปนจริง เพื่อหาเหตุผลนําไปสูขอสรุป ตัวอยางที่ 1 จงพิจารณาการใหเหตุผลตอไปนี้เปนการใหเหตุผลแบบอุปนัยหรือนิรนัย 1) เหตุ 1. นัทชอบทานไอศกรีม 2. แนทชอบทานไอศกรีม ผล เด็กทุกคนชอบทานไอศกรีม 2) เหตุ 1. เด็กทุกคนชอบทานไอศกรีม 2. แนทเปนเด็ก ผล แนทชอบทานไอศกรีม ตัวอยางที่ 2 จงหาคา a จากแบบรูปของจํานวนที่กําหนดให 1, 4, 9, 16, 25, a 2, 4, 8, 16, 32, a ความสมเหตุสมผล สวนประกอบของการใหเหตุผล การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร 1. a เปนสมาชิกของ A 2. a ไมเปนสมาชิกของ A
คณิตศาสตร (6)_______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
3. สมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B
4. ไมมีสมาชิกตัวใดใน A เปนสมาชิกของ B
5. สมาชิกบางตัวของ A เปนสมาชิกของ B
6. สมาชิกบางตัวของ A ไมเปนสมาชิกของ B
ตัวอยางที่ 3 กําหนดเหตุใหดังตอไปนี้ เหตุ ก. ทุกจังหวัดที่อยูไกลจากกรุงเทพมหานครเปนจังหวัดที่มีอากาศดี ข. เชียงใหมเปนจังหวัดที่มีอากาศไมดี ขอสรุปในขอใดตอไปนี้สมเหตุสมผล *1) เชียงใหมเปนจังหวัดที่อยูไมไกลจากกรุงเทพมหานคร 2) นราธิวาสเปนจังหวัดที่อยูไมไกลจากกรุงเทพมหานคร 3) เชียงใหมเปนจังหวัดที่อยูไกลจากกรุงเทพมหานคร 4) นราธิวาสเปนจังหวัดที่อยูไกลจากกรุงเทพมหานคร
ตัวอยางที่ 4 จงพิจารณาขอความตอไปนี้ 1. คนตีกอลฟทุกคนเปนคนสายตาดี 2. คนที่ตีกอลฟไดไกลกวา 300 หลา บางคน เปนคนสายตาดี 3. ธงชัยตีกอลฟเกงแตตีไดไมไกลกวา 300 หลา แผนภาพในขอใดตอไปนี้ มีความเปนไปไดที่จะสอดคลองกับขอความทั้งสามขางตน เมื่อจุดแทนธงชัย 1)
2)
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
*3)
4)
_______________________________ คณิตศาสตร (7)
ตัวอยางที่ 5 จากแบบรูปตอไปนี้
7 1 2 4
14 2 4 8
21 3 6 12
...
77 a b c
โดยการใหเหตุผลแบบอุปนัย 2a - b + c มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 11 2) 22 3) 33
*4) 44
ตัวอยางที่ 6 พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. นักกีฬาทุกคนมีสุขภาพดี ข. คนที่มีสุขภาพดีบางคนเปนคนดี ค. ภราดรเปนนักกีฬา และเปนคนดี แผนภาพในขอใดตอไปนี้ มีความเปนไปไดที่จะสอดคลองกับขอความทั้งสามขอขางตน เมื่อจุดแทนภราดร 1)
2)
3)
*4)
ตัวอยางที่ 7 เหตุ 1. ไมมีคนขยันคนใดเปนคนตกงาน 2. มีคนตกงานที่เปนคนใชเงินเกง 3. มีคนขยันที่ไมเปนคนใชเงินเกง ผล ในขอใดตอไปนี้ที่เปนการสรุปผลจากเหตุขางตนที่เปนไปอยางสมเหตุสมผล 1) มีคนขยันที่เปนคนใชเงินเกง *2) มีคนใชเงินเกงที่เปนคนตกงาน 3) มีคนใชเงินเกงที่เปนคนขยัน 4) มีคนตกงานที่เปนคนขยัน
คณิตศาสตร (8)_______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ระบบจํานวนจริง แผนผังแสดงความสัมพันธของระบบจํานวน จํานวนเชิงซอน จํานวนจริง (R)
จํานวนจินตภาพ
จํานวนอตรรกยะ (Q′) จํานวนตรรกยะ (Q) จํานวนตรรกยะ (I′) ที่ไมใชจํานวนเต็ม
จํานวนเต็ม (I)
จํานวนเต็มลบ (I-) จํานวนเต็มบวก (I+) (จํานวนนับ) (N) จํานวนเต็มศูนย (I0)
จํานวนอตรรกยะ หมายถึง จํานวนที่ไมสามารถเขียนใหอยูในรูปเศษสวนของจํานวนเต็ม หรือทศนิยม ซ้ําได เชน 2 , 5 , - 3 , π, 2.17254... เปนตน จํานวนตรรกยะ หมายถึง จํานวนที่สามารถเขียนในรูปเศษสวนของจํานวนเต็มได ตัวอยางที่ 1 พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. มีจํานวนตรรกยะที่นอยที่สุดที่มากกวา 0 ข. มีจํานวนอตรรกยะที่นอยที่สุดที่มากกวา 0 ขอสรุปใดตอไปนี้ถูกตอง 1) ก. ถูก และ ข. ผิด 2) ก. และ ข. ถูก 3) ก. ผิด และ ข. ถูก *4) ก. และ ข. ผิด ตัวอยางที่ 2 กําหนดใหคาประมาณที่ถูกตองถึงทศนิยมตําแหนงที่ 3 ของ 3 และ 5 คือ 1.732 และ 2.236 ตามลําดับ พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. 2.235 + 1.731 ≤ 5 + 3 ≤ 2.237 + 1.733 ข. 2.235 - 1.731 ≤ 5 - 3 ≤ 2.237 - 1.733 ขอสรุปใดตอไปนี้ถูกตอง *1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_______________________________ คณิตศาสตร (9)
สมบัติของจํานวนจริง 1. สมบัติการเทากันของจํานวนจริง กําหนดให a, b, c ∈ R 1) สมบัติการสะทอน a=a 2) สมบัติการสมมาตร ถา a = b แลว b = a 3) สมบัติการถายทอด ถา a = b และ b = c แลว a = c 4) สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน ถา a = b แลว a + c = b + c 5) สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากัน ถา a = b แลว a + c = b + c 2. สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับพีชคณิต กําหนดให a, b, c ∈ R สมบัติ สมบัติปด สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนกลุม สมบัติการมีเอกลักษณ สมบัติการมีอินเวอรส
สมบัติการแจกแจง
สมบัติของการบวก a+b∈R a+b=b+a a + (b + c) = (a + b) + c มี 0 เปนเอกลักษณการบวก ซึ่ง 0 + a = a = a + 0 สําหรับจํานวนจริง a มีจํานวนจริง -a ที่ (-a) + a = 0 = a + (-a) a(b + c) = ab + ac
ตัวอยางที่ 3 ให a และ b เปนจํานวนตรรกยะที่แตกตางกัน c และ d เปนจํานวนอตรรกยะที่แตกตางกัน พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. a - b เปนจํานวนตรรกยะ ข. c - d เปนจํานวนอตรรกยะ ขอสรุปใดตอไปนี้ถูกตอง 1) ก. และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด คณิตศาสตร (10)______________________________
สมบัติของการคูณ a⋅b ∈ R a⋅b = b⋅a a ⋅ (b ⋅ c) = (a ⋅ b) ⋅ c มี 1 เปนเอกลักษณการคูณ ซึ่ง 1 ⋅ a = a = a ⋅ 1 สําหรับจํานวนจริง a ที่ a ≠ 0 จะมี a-1 ที่ a ⋅ a-1 = a-1 ⋅ a = 1
3) ก. ผิด และ ข. ถูก
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
4) ก. และ ข. ผิด
ตัวอยางที่ 4 พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. สมบัติการมีอินเวอรสการบวกของจํานวนจริง b ที่ b + a = 0 = a + b ข. สมบัติการมีอินเวอรสการคูณของจํานวนจริงกลาววา สําหรับจํานวนจริง a จะมีจํานวนจริง b ที่ ba = 1 = ab ขอสรุปใดตอไปนี้ถูกตอง 1) ก. และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด ทบทวนสูตร 1. กําลังสองสมบูรณ (a + b)2 = a2 + 2ab + b2 (a - b)2 = a2 - 2ab + b2 2. กําลังสามสมบูรณ (a + b)3 = a3 + 3a2b + 3ab2 + b3 (a - b)3 = a3 - 3a2b + 3a2b - b3 3. ผลตางกําลังสอง a2 - b2 = (a - b)(a + b) 4. ผลตางกําลังสาม a3 - b3 = (a - b)(a2 + ab + b2) a3 + b3 = (a + b)(a2 - ab + b2) จากสมการพหุนามกําลังสอง ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b และ c เปนคาคงที่, a ≠ 0 b 2 - 4ac จะได x = -b ± 2a ถา b2 - 4ac > 0 แลว x จะมี 2 คําตอบ ถา b2 - 4ac = 0 แลว x จะมี 1 คําตอบ ถา b2 - 4ac < 0 แลว x จะไมมีคําตอบที่เปนจํานวนจริง
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (11)
สมบัติของอสมการ ให a, b และ c เปนจํานวนจริง 1. สมบัติการถายทอด ถา a > b และ b > c แลว a > c 2. สมบัติการบวกดวยจํานวนจริงที่เทากัน ถา a > b แลว a + c > b + c 3. สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากัน ถา a > b และ c > 0 แลว ac > bc ถา a > b และ c < 0 แลว ac < bc 4. ให a และ b เปนจํานวนจริง จาก a < x < b จะได a < x และ x < b ชวงของจํานวนจริง ให a และ b เปนจํานวนจริง และ a < b 1. (a, b) = {x|a < x < b} เสนจํานวน คือ a b 2. [a, b] = {x|a ≤ x ≤ b} เสนจํานวน คือ 3. (a, b] = {x|a < x ≤ b} เสนจํานวน คือ 4. [a, b) = {x|a ≤ x < b} เสนจํานวน คือ 5. (-∞, a) = {x|x < a} เสนจํานวน คือ 6. [a, ∞) = {x|x ≥ a} เสนจํานวน คือ
a
b
a
b
a
b a
a
ตัวอยางที่ 5 ตองการลอมรั้วรอบที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผาซึ่งมีพื้นที่ 65 ตารางวา โดยดานยาวของที่ดินยาวกวาสองเทาของ ดานกวางอยู 3 วา จะตองใชรั้วที่มีความยาวเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 30 วา *2) 36 วา 3) 42 วา 4) 48 วา
คณิตศาสตร (12)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ตัวอยางที่ 6 เมื่อเขียนกราฟของ y = ax2 + bx + c โดยที่ a ≠ 0 เพื่อหาคําตอบของสมการ ax2 + bx + c = 0 กราฟในขอใดตอไปนี้แสดงวาสมการไมมีคําตอบที่เปนจํานวนจริง y
y
5
1)
-5
5
0
5
x
2)
-5
-5
0
y
5
-5
x
-5 y
3)
5
0
5 5
x
-5
*4)
-5
0
5
x
-5
ตัวอยางที่ 7 แมคานําเมล็ดมะมวงหิมพานต 1 กิโลกรัม ถั่วลิสง 3 กิโลกรัม และเมล็ดฟกทอง 4 กิโลกรัม มาผสมกัน แลวแบงใสถุง ถุงละ 100 กรัม ถาแมคาซื้อเมล็ดมะมวงหิมพานต ถั่วลิสง และเมล็ดฟกทองมาในราคา กิโลกรัมละ 250 บาท 50 บาท และ 100 บาท ตามลําดับ แลวแมคาจะตองขายเมล็ดพืชผสมถุงละ 100 กรัมนี้ ในราคาเทากับขอใดตอไปนี้จึงจะไดกําไร 20% เมื่อขายหมด 1) 10 บาท *2) 12 บาท 3) 14 บาท 4) 16 บาท
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (13)
ตัวอยางที่ 8 เซตคําตอบของอสมการ -1 ≤ 1) [ 2 - 1, 1]
2+
x
1- 2 2) [ 2 - 1, 2]
≤1
คือเซตในขอใดตอไปนี้
*3) [3 - 2 2 , 1]
คาสัมบูรณ บทนิยาม ให a เปนจํานวนจริง a เมื่อ a ≥ 0 |a| = -a เมื่อ a < 0 ทฤษฎีบทเกี่ยวกับคาสัมบูรณ 1. |x| = a ก็ตอเมื่อ x = a หรือ x = -a 2. ให a เปนจํานวนจริงบวก |x| < a ก็ตอเมื่อ -a < x < a |x| ≤ a ก็ตอเมื่อ -a ≤ x ≤ a |x| > a ก็ตอเมื่อ x < -a หรือ x > a |x| ≥ a ก็ตอเมื่อ x ≤ -a หรือ x ≥ a ตัวอยางที่ 9 พิจารณาสมการ |x - 7| = 6 ขอสรุปใดตอไปนี้เปนเท็จ 1) คําตอบหนึ่งของสมการมีคาระหวาง 10 และ 15 2) ผลบวกของคําตอบทั้งหมดของสมการมีคาเทากับ 14 *3) สมการนี้มีคําตอบมากกวา 2 คําตอบ 4) ในบรรดาคําตอบทั้งหมดของสมการ คําตอบที่มีคานอยที่สุดมีคานอยกวา 3
คณิตศาสตร (14)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
4) [3 - 2 2 , 2]
ตัวอยางที่ 10 จํานวนสมาชิกของเซต
xx
=
2 2 a + |1a| - |a|- 1a เมื่อ a เปนจํานวนจริงซึ่งไมเทากับ 0
เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 1 3) 3
*2) 2 4) มากกวาหรือเทากับ 4
ตัวอยางที่ 11 ผลบวกของคําตอบทุกคําตอบของสมการ x3 - 2x = |x| เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 0 2) 3 *3) 3 - 1
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
4)
3 +1
______________________________ คณิตศาสตร (15)
ความสัมพันธและฟงกชัน ผลคูณคารทีเชียน กําหนดให A และ B เปนเซตใดๆ ผลคูณคารทีเชียนของ A และ B คือ A × B = {(a, b)|a ∈ A และ b ∈ B} เชน ให A = {1, 2} และ B = {a, b, c} จะได A × B = {(1, a), (1, b), (1, c), (2, a), (2, b), (2, c)} B × A = {(a, 1), (a, 2), (b, 1), (b, 2), (c, 1), (c, 2)} สมบัติของผลคูณคารทีเชียน ให A, B และ C เปนเซตใดๆ 1. A × φ = φ × A = φ 2. A × B ≠ B × A 3. n(A × B) = n(A) × n(B) 4. A × (B U C) = (A × B) U (A × C) (B U C) × A = (B × A) U (C × A) 5. A × (B I C) = (A × B) I (A × C) (B I C) × A = (B × A) I (C × A) ตัวอยางที่ 1 กําหนดให A = {1, 2} และ B = {a, b} คูอันดับในขอใดตอไปนี้เปนสมาชิกของผลคูณคารทีเชียน A × B *1) (2, b) 2) (b, a) 3) (a, 1) 4) (1, 2)
ความสัมพันธ คือ เซตของคูอันดับที่เกี่ยวของกันตามเงื่อนไขที่กําหนดและเปนสับเซตของผลคูณคารทีเชียน กําหนดให A และ B เปนเซตใดๆ r เปนความสัมพันธจาก A ไป B เขียนแทนดวย r ⊂ A × B r เปนความสัมพันธใน A เขียนแทนดวย r ⊂ A × A *จํานวนความสัมพันธทั้งหมดจาก A ไป B เทากับ 2n(A)×n(B)
คณิตศาสตร (16)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ตัวอยางที่ 2
กําหนดให A = {1, 2, 3, 4, 5, 6} B = {1, 2, 3, ... , 11, 12} S = (a, b) ∈ A × B b = 2a + a2
จํานวนสมาชิกของเซต S เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 1 *2) 2
3) 3
4) 4
ตัวอยางที่ 3 ถา A = {1, 2, 3, 4} และ r = {(m, n) ∈ A × A | m ≤ n} แลวจํานวนสมาชิกในความสัมพันธ r เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 8 *2) 10 3) 12 4) 16
โดเมนของ r เขียนแทนดวย Dr คือ เซตของสมาชิกตัวหนาของคูอันดับทั้งหมดใน r สัญลักษณ คือ Dr = {x|(x, y) ∈ r} เรนจของ r เขียนแทนดวย Rr คือ เซตของสมาชิกตัวหลังของคูอันดับทั้งหมดใน r สัญลักษณ คือ Rr = {y|(x, y) ∈ r} เชน จาก r = {(-2, 4), (-1, 1), (1, 1)} จะได Dr = {-2, -1, 1} และ Rr = {1, 4} การหาโดเมนและเรนจของความสมพันธของ r ⊂ R × R 1. โดเมน หาโดยจัดรูปสมการเปน y ในรูปของ x และพิจารณาวา x สามารถเปนจํานวนจริงใดไดบาง ที่สามารถหาคา y ที่เปนจํานวนจริงได 2. เรนจ หาโดยจัดรูปสมการเปน x ในรูปของ y และพิจารณาวา y สามารถเปนจํานวนจริงใดไดบาง ฟงกชัน คือ ความสัมพันธที่คูอันดับทุกๆ ตัวในความสัมพันธ ถาสมาชิกตัวหนาของคูอันดับสองคูเทากัน แลวสมาชิกตัวหลังของทั้งสองคูอันดับตองเทากันดวย นั่นคือ r เปนฟงกชันก็ตอเมื่อ ถา (x, y) ∈ r และ (x, z) ∈ r แลว y = z r ไมเปนฟงกชันก็ตอเมื่อ มี (x, y) ∈ r และ (x, z) ∈ r ซึ่ง y ≠ z
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (17)
การตรวจสอบฟงกชัน 1. กรณี r เขียนแบบแจกแจงสมาชิก ถามีสมาชิกตัวหนาของคูอันดับ ซึ่งเปนสมาชิกใน r จับคูกับสมาชิกตัวหลังของคูอันดับมากกวา 1 ตัว ขึ้นไป r ไมเปนฟงกชัน เชน r1 = {(a, 1), (b, 2), (b, 3), (c, 4)} จะได r1 ไมเปนฟงกชัน เพราะ b จับคูกับ 2 และ 3 r2 = {(p, 2), (q, 4), (r, 6)} จะได r2 เปนฟงกชัน เพราะสมาชิกตัวหนาของคูอันดับทุกตัวจับคูกับสมาชิกตัวหลังเพียงตัวเดียว เทานั้น 2. กรณี r วาดเปนรูปกราฟ ใหลากเสนตรงตั้งฉากกับแกน x ถามีกรณีที่เสนตรงที่ลากตั้งฉากกับแกน x ตัดกับกราฟของ r เกินเกิน 1 จุดขึ้นไป r ไมเปนฟงกชัน y r1 เชน เนื่องจากมีกรณีที่เสนตรงที่ตั้งฉากกับแกน x ตัดกับกราฟ r เกิน 1 จุด ดังนั้น r1 ไมเปนฟงกชัน x
y
x
เนื่องจากไมมีกรณีที่เสนตรงที่ตั้งฉากกับแกน x ตัดกับกราฟ r เกิน 1 จุด ดังนั้น r2 เปนฟงกชัน
r2
+ 2x2 - 1 ตัวอยางที่ 4 จํานวนในขอใดตอไปนี้เปนสมาชิกของโดเมนของฟงกชัน f = (x, y)|y = 2 x x + 3x + 2 x - 1 1) -2 2) -1 *3) 0 4) 1
คณิตศาสตร (18)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ตัวอยางที่ 5 ให A = {1, 99} ความสัมพันธใน A ในขอใดไมเปนฟงกชัน 1) เทากับ 2) ไมเทากับ *3) หารลงตัว
4) หารไมลงตัว
ตัวอยางที่ 6 จากความสัมพันธ r ที่แสดงดวยกราฟดังรูป y 3 2 1
-3 -2 -1 0 -1 -2 -3
1 2 3
x
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง 1) r เปนฟงกชันเพราะ (1, 1), (2, 2) และ (3, 3) อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน 2) r เปนฟงกชันเพราะมีจํานวนจุดเปนจํานวนจํากัด *3) r ไมเปนฟงกชันเพราะมีจุด (3, 3) และ (3, -1) อยูบนกราฟ 4) r ไมเปนฟงกชันเพราะมีจุด (1, 1) และ (-1, 1) อยูบนกราฟ ฟงกชันประเภทตางๆ ฟงกชันเชิงเสน (Linear Function) คือ ฟงกชันที่อยูในรูป f(x) = ax + b เมื่อ a, b ∈ R ฟงกชันคงที่ (Constant Function) คือ ฟงกชันเชิงเสนที่มี a = 0 กราฟของฟงกชันจะเปนเสนตรง ขนานกับแกน X ฟงกชันกําลังสอง (Quadratic Function) คือ ฟงกชันที่อยูในรูป f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c ∈ R และ a ≠ 0 ถา a > 0 กราฟหงาย มีจุดวกกลับเปนจุดต่ําสุดของฟงกชัน และถา a < 0 กราฟคว่ํา มีจุดวกกลับเปน จุดสูงสุดของฟงกชัน b -b , f 2a หรือ ถารูปทั่วไปของสมการ คือ f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c ∈ R จุดวกกลับอยูที่ -2a
b, -2a
4ac - b2
4a ถารูปทั่วไปของสมการ คือ f(x) = a(x - h)2 + k เมื่อ a, k ∈ R และ a ≠ 0 จุดวกกลับอยูที่ (h, k) โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (19)
การแกสมการโดยใชกราฟ 1. ในกรณีที่กราฟไมตัดแกน x จะไมมีคําตอบของสมการที่เปนจํานวนจริง 2. กราฟของ y = a(x + c)2 เมื่อ c > 0 จะตัดแกน x ที่จุด (-c, 0) สมการมีคําตอบเดียว คือ x = -c กราฟของ y = a(x - c)2 เมื่อ c > 0 จะตัดแกน x ที่จุด (c, 0) สมการมีคําตอบเดียว คือ x = c 2 3. นอกเหนือจากนี้กราฟตัดแกน x สองจุด โดยพิจารณาจากการแกสมการ หรือสูตร x = -b ± b2a - 4ac ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล (Exponential Function) คือ ฟงกชันที่อยูในรูป y = ax เมื่อ a > 0 และ a ≠ 1 ฟงกชันคาสัมบูรณ (Absolute Value Function) คือ ฟงกชันที่อยูในรูป y = |x - a| + c เมื่อ a, c ∈ R ฟงกชันขั้นบันได (Step Function) คือ ฟงกชันที่มีโดเมนเปนสับเซตของ R และมีคาฟงกชันคงตัวเปน ชวงๆ มากกวาสองชวง กราฟของฟงกชันจะมีรูปคลายบันได ตัวอยางที่ 7 คาของ a ที่ทําใหกราฟของฟงกชัน y = a(2x) ผานจุด (3, 16) คือขอใดตอไปนี้ *1) 2 2) 3 3) 4 4) 5
ตัวอยางที่ 8 ทุก x ในชวงใดตอไปนี้ที่กราฟของสมการ y = -4x2 - 5x + 6 อยูเหนือแกน x 2) - 52 , - 32 3) 14 , 67 4) 12 , 32 *1) - 23 , - 13
ตัวอยางที่ 9 กําหนดให a และ b เปนจํานวนจริงบวก ถากราฟของฟงกชัน y1 = 1 + ax และ y2 = 1 + bx มี ลักษณะดังแสดงในภาพตอไปนี้ y y1 = 1 + a x x y2 = 1 + b
2 1 0 ขอใดตอไปนี้เปนจริง 1) 1 < a < b
2) a < 1 < b
คณิตศาสตร (20)______________________________
x *3) b < 1 < a
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
4) b < a < 1
ตัวอยางที่ 10 ถาเสนตรง x = 3 เปนเสนสมมาตรของกราฟของฟงกชัน f(x) = -x2 + (k + 5)x + (k2 - 10) เมื่อ k เปนจํานวนจริง แลว f มีคาสูงสุดเทากับขอใดตอไปนี้ 1) -4 *2) 0 3) 6 4) 14
ตัวอยางที่ 11 กําหนดให f(x) = x2 - 2x - 15 ขอใดตอไปนี้ผิด 1) f(x) ≥ -17 ทุกจํานวนจริง x 2) f(-3 - 2 - 3 ) > 0 3) f(1 + 3 + 5 ) = f(1 - 3 - 5 ) *4) f(-1 + 3 + 5 ) > f(-1 - 3 - 5 )
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (21)
เลขยกกําลัง สมบัติของเลขยกกําลัง ให a และ b เปนจํานวนจริงใดๆ โดยที่ m และ n เปนจํานวนเต็มบวก และ k เปนจํานวนเต็ม 1. am ⋅ an = am+n m 2. a n = am-n a 3. (am)n = amn 4. (am ⋅ bn)k = amk ⋅ bnk k
mk 5. am = a nk , b ≠ 0 bn b 1 n 6. a = n , a ≠ 0 a 0 7. a = 1, a ≠ 0 เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ บทนิยาม เมื่อ a เปนจํานวนจริงบวก และ n เปนจํานวนที่มากกวา 1 a1/n = n a บทนิยาม กําหนด a เปนจํานวนจริง m และ n เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 ที่ ห.ร.ม ของ m และ n เทากับ 1 n a m = am/n สมการในรูปเลขยกกําลัง ให a และ b เปนจํานวนจริงบวกที่ไมเทากับ 1 และ m, n เปนจํานวนตรรกยะ จะไดวา 1. am = an ก็ตอเมื่อ m = n 2. am = bm ก็ตอเมื่อ m = 0 และ a, b ≠ 0
1/2 ตัวอยางที่ 1 คาของ (-2)2 + 8 + 2 2 เทากับขอใดตอไปนี้ 32 1) -1 2) 1 *3) 3
คณิตศาสตร (22)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
4) 5
4
8 = 16 1/ x แลว x มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ ตัวอยางที่ 2 ถา 125 625 *2) 23 3) 32 1) 34
ตัวอยางที่ 3 ขอใดตอไปนี้ผิด 1) (24)30 < 220 ⋅ 330 ⋅ 440 *3) 220 ⋅ 340 ⋅ 430 < (24)30
4) 34
2) (24)30 < 230 ⋅ 320 ⋅ 440 4) 230 ⋅ 340 ⋅ 420 < (24)30
ตัวอยางที่ 4 ( 18 + 2 3 - 125 - 3 4 4 ) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ *1) -10 2) 10 3) 2 5 - 5 2 4) 5 2 - 2 5
2
5 - 2 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ ตัวอยางที่ 5 15 6 3 7 2) 10 *1) 10
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
3)
5 -2
4)
6 -2
______________________________ คณิตศาสตร (23)
อสมการในรูปเลขยกกําลัง ให a เปนจํานวนจริงบวกที่ไมเทากับ 1 และ m, n เปนจํานวนตรรกยะ จะไดวา 1. am < an และ a > 1 จะไดวา m < n 2. am < an และ 0 < a < 1 จะไดวา m > n
1 คือเซตในขอใดตอไปนี้ ตัวอยางที่ 6 เซตคําตอบของอสมการ 4(2x2-4x-5) ≤ 32 1) - 52 , 52 2) - 52 , 1 3) - 12 , 1
*4) - 12 , 52
ตัวอยางที่ 7 ถา 8x - 8(x+1) + 8(x+2) = 228 แลว x มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ *2) 23 3) 34 1) 13
4) 53
3x ตัวอยางที่ 8 ถา 3 + 38 = 16 81 แลว x มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 2) - 92 3) - 91 *1) - 94
4) 91
ตัวอยางที่ 9 ขอใดตอไปนีผ้ ิด 1) 0.9 + 10 < 0.9 + 10 3) ( 0.9 )( 3 1.1 ) < ( 1.1 )( 3 0.9 )
คณิตศาสตร (24)______________________________
*2) ( 0.9 )( 4 0.9 ) < 0.9 4) 300 125 < 200 100
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ตัวอยางที่ 10 ถา 4a =
2 และ 16-b = 14 แลว a + b มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 0.75)
ตัวอยางที่ 11 คาของ x ที่สอดคลองกับสมการ
1) 2
2) 3
2
(x2)
(4x) = 2 4 เทากับขอใดตอไปนี้ 4 *3) 4
4) 5
ตัวอยางที่ 12 อสมการในขอใดตอไปนี้เปนจริง 1) 21000 < 3600 < 10300 *3) 3600 < 10300 < 21000
2) 3600 < 21000 < 10300 4) 10300 < 21000 < 3600
5 6 ตัวอยางที่ 13 3 -32 + 2 3/2 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 27 (64) 2) - 56 *1) - 13 24
3) 32
ตัวอยางที่ 14 ( 2 + 1) 60
8 +
18 + 32 )2 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 2) 60 2 3) 100 2
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
4) 19 24
*4) 200
______________________________ คณิตศาสตร (25)
อัตราสวนตรีโกณมิติ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ถา ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งมี ACˆ B เปนมุมฉาก c แทนความยาวของดานตรงขามมุมฉาก a และ b แทนความยาวของดานประกอบมุมฉากจะไดความสัมพันธระหวางความยาวของดานทั้งสามของรูป สามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ดังนี้ B
A
c
a
b
C
c2 = a2 + b2
อัตราสวนตรีโกณมิติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก บทนิยาม กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ความยาวของดานตรงขามมุม A ความยาวของดานตรงขามมุมฉาก a โคไซน (cosine) ของมุม A = cos A = ความยาวของดานประชิดมุม A ความยาวของดานตรงขามมุมฉาก C แทนเจนต (tangent) ของมุม A = tan A = ความยาวของดานตรงขามมุม A ความยาวของดานประชิดมุม A B
c A
b
ไซน (sine) ของมุม A = sin A =
sin A = ac , cos A = bc , tan A = ab และยังมีอัตราสวนอื่นๆ อีก คือ 1. csc A = sin1 A , sec A = cos1 A , cot A = tan1 A sin A , cot A = cos A 2. tan A = cos A sin A 2 2 3. sin A + cos A = 1 4. tan2 A + 1 = sec2 A 5. 1 + cot2 A = csc2 A
คณิตศาสตร (26)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ความสัมพันธระหวางมุม A กับมุม 90° - A ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก C
A
B
sin A = cos (90° - A), csc A = sec (90° - A) cos A = sin (90° - A), sec A = csc (90° - A) tan A = cot (90° - A), cot A = tan (90° - A) อัตราสวนตรีโกณมิติของมุม 30°, 45° และ 60° มุม
sin 1 2 2 2 3 2
30° 45° 60°
cos 3 2 2 2 1 2
tan 1 3 1 3
csc
2 2 = 2 2 2 3
การเปรียบเทียบมาตรการวัดมุมระบบอังกฤษและระบบเรเดียน 360° = 2π เรเดียน 180° = π เรเดียน
60° = π3 เรเดียน ตัวอยางที่ 1 A
21°
45° = π4 เรเดียน
sec 2 3 2 = 2 2 2
cot 3
1 1 3
90° = π2 เรเดียน 30° = π6 เรเดียน
จากรูป ขอใดตอไปนี้ถูกตอง C *1) sin 21° = cos 69° 2) sin 21° = cos 21° B 3) cos 21° = tan 21° 4) tan 21° = cos 69°
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (27)
ตัวอยางที่ 2 ขอใดตอไปนีถ้ ูกตอง *1) sin 30° < sin 45° 3) tan 45° < cot 45°
2) cos 30° < cos 45° 4) tan 60° < cot 60°
ตัวอยางที่ 3 กําหนดใหตาราง A ตาราง B และตาราง C เปนตารางหาอัตราสวนตรีโกณมิติของมุมขนาดตางๆ ดังนี้ ตาราง A θ sin θ 40° 0.643 41° 0.656 42° 0.669
ตาราง B θ cos θ 40° 0.766 41° 0.755 42° 0.743
ตาราง C θ tan θ 40° 0.839 41° 0.869 42° 0.900
ถารูปสามเหลี่ยม ABC มีมุม B เปนมุมฉาก มุม C มีขนาด 41° และสวนสูง BX ยาว 1 หนวย แลว ความยาวของสวนของเสนตรง AX เปนดังขอใดตอไปนี้ B 1) ปรากฏอยูในตาราง A 2) ปรากฏอยูในตาราง B *3) ปรากฏอยูในตาราง C 4) ไมปรากฏอยูในตาราง A, B และ C A C X
ตัวอยางที่ 4 ถารูปสามเหลี่ยมดานเทารูปหนึ่งมีความสูง 1 หนวย แลวดานของรูปสามเหลี่ยมรูปนี้ยาวเทากับ ขอใดตอไปนี้ 1) 23 หนวย *2) 2 3 3 หนวย 3) 34 หนวย 4) 32 หนวย
คณิตศาสตร (28)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ตัวอยางที่ 5 กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมที่มีมุม C เปนมุมฉาก และ cos B = 23 ถาดาน BC ยาว 1 หนวย แลว พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 55 ตารางหนวย *2) 45 ตารางหนวย 3) 35 ตารางหนวย 4) 25 ตารางหนวย
ตัวอยางที่ 6 กําหนดให ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาซึ่งมีพื้นที่เทากับ 12 หนวย และ tan ABˆ D = 13 ถา AE ตั้งฉากกับ BD ที่จุด E แลว AE ยาวเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 310 หนวย 2) 2 510 หนวย *4) 3 510 หนวย 3) 210 หนวย
ตัวอยางที่ 7
พิจารณารูปสามเหลี่ยมตอไปนี้ โดยที่ CFˆE , CAˆ B , AEˆ B และ EDˆ B ตางเปนมุมฉาก ขอใดตอไปนีผ้ ิด 1) sin ( 1ˆ ) = sin ( 5ˆ ) 2) cos ( 3ˆ ) = cos ( 5ˆ ) *3) sin ( 2ˆ ) = cos ( ˆ4 ) 4) cos ( 2ˆ ) = sin ( 3ˆ )
C
F A
1 E 2 3 4 D
5 B
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (29)
ลําดับและอนุกรม ลําดับ (Sequences) บทนิยาม ลําดับ คือ ฟงกชันที่มีโดเมนเปนเซตของจํานวนเต็มบวก n ตัวแรก หรือโดเมนเปนเซต ของจํานวนเต็มบวก ลําดับที่มีโดเมนเปนเซตของจํานวนเต็มบวก n ตัวแรกเรียกวา ลําดับจํากัด (Finite Sequences) ลําดับที่มีโดเมนเปนเซตของจํานวนเต็มบวก เรียกวา ลําดับอนันต (Infinite Sequences) ลําดับเลขคณิต (Arithmetic Sequences) บทนิยาม ลําดับเลขคณิต คือ ลําดับที่ผลตางซึ่งไดจากพจนที่ n + 1 ลบดวยพจนที่ n มีคาคงตัว คาคงตัวนี้เรียกวา ผลตางรวม (Common difference)
1. เมื่อกําหนดใหพจนแรกของลําดับเลขคณิต คือ a1 และผลตางรวม คือ d โดยที่ d = an+1 - an พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = a1 + (n - 1)d 2. ลําดับเลขคณิต n พจนแรก คือ a, a + d, a + 2d, ..., a + (n - 1)d ตัวอยางที่ 1 ลําดับเลขคณิตในขอใดตอไปนี้มีบางพจนเทากับ 40 1) an = 1 - 2n 2) an = 1 + 2n *3) an = 2 - 2n
4) an = 2 + 2n
1 , - 1 , - 1 , ... เทากับขอใดตอไปนี้ ตัวอยางที่ 2 พจนที่ 31 ของลําดับเลขคณิต - 20 30 60 5 13 9 7 1) 12 2) 30 *3) 20 4) 15
ตัวอยางที่ 3 ถา a1, a2, a3, ... เปนลําดับเลขคณิต ซึ่ง a30 - a10 = 30 แลว ผลตางรวมของลําดับเลขคณิตนี้ มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 1.25 *2) 1.5 3) 1.75 4) 2.0
คณิตศาสตร (30)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ลําดับเรขาคณิต (Geometric Sequences) บทนิยาม ลําดับเรขาคณิต คือ ลําดับที่อัตราสวนของพจนที่ n + 1 ตอพจนที่ n เปนคาคงตัว คาคงตัวนี้เรียกวา อัตราสวนรวม (Common ration) a +1 1. เมื่อกําหนดพจนแรกของลําดับเรขาคณิตเปน a1 และอัตราสวนรวม คือ r โดยที่ r = na n n 1 พจนที่ n ของลําดับเรขาคณิตนี้ คือ an = a1 ⋅ r 2. ลําดับเรขาคณิต n พจนแรก คือ a, ar, ar2, ..., arn-1
ตัวอยางที่ 4 กําหนดให a1, a2, a3 เปนลําดับเรขาคณิต โดยที่ a1 = 2 และ a3 = 200 ถา a2 คือคาในขอใดขอหนึ่ง ตอไปนี้แลวขอดังกลาวคือขอใด *1) -20 2) -50 3) 60 4) 100
ตัวอยางที่ 5 กําหนดให a1, a2, a3, ... เปนลําดับเรขาคณิต พิจารณาลําดับสามลําดับตอไปนี้ ก. a1 + a3 , a2 + a4 , a3 + a5 , ... ข. a1a2 , a2a3 , a3a4 , ... 1 1 1 ค. a , a , a , ... 1
2
ขอใดตอไปนีถ้ ูก *1) ทั้งสามลําดับเปนลําดับเรขาคณิต 3) มีสองลําดับไมเปนลําดับเรขาคณิต
3
1 , 1 , ตัวอยางที่ 6 พจนที่ 16 ของลําดับเรขาคณิต 625 125 5 1) 25 5 *3) 125 5
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
2) มีหนึ่งลําดับไมเปนลําดับเรขาคณิต 4) ทัง้ สามลําดับไมเปนลําดับเรขาคณิต
1 125 , ... เทากับขอใดตอไปนี้ 2) 125 4) 625
______________________________ คณิตศาสตร (31)
ตัวอยางที่ 7 ลําดับในขอใดตอไปนี้ เปนลําดับเรขาคณิต *1) an = 2n ⋅ 32n 2) an = 2n + 4n
3) an = 3n2
4) an = (2n)n
อนุกรมเลขคณิต (Arinmetic Series)
เมื่อ a1, a2, a3, ..., an เปนลําดับเลขคณิต จะไดวา a1 + a2 + a3 + ... + an เปนอนุกรมเลขคณิต ให Sn แทนผลบวก n พจนแรกของอนุกรม คือ S1 = a1 S2 = a1 + a2 S3 = a1 + a2 + a3 M
M
Sn = a1 + a2 + a3 + ... + an ผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต Sn = n2 [2a1 + (n - 1)d] หรือ Sn = n2 [a1 + an] ตัวอยางที่ 8 คาของ 1 + 6 + 11 + 16 + ... + 101 เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 970 2) 1020 3) 1050
*4) 1071
ตัวอยางที่ 9 ถา a1, a2, a3, ... เปนลําดับเลขคณิต ซึ่ง a2 + a3 + ... + a9 = 100 แลว S10 = a1 + a2 + ... + a10 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 120 *2) 125 3) 130
4) 135
คณิตศาสตร (32)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ตัวอยางที่ 10 กําหนดให S = {101, 102, 103, ... , 999} ถา a เทากับผลบวกของจํานวนคี่ทั้งหมดใน S และ b เทากับผลบวกของจํานวนคูทั้งหมดใน S แลว b - a มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ *1) -550 2) -500 3) -450 4) 450
อนุกรมเรขาคณิต (Geometrics Series)
เมื่อ a1, a2, a3, ..., an เปนลําดับแรขาคณิต จะไดวา a1 + a2 + a3 + ... + an เปนอนุกรมเรขาคณิต ผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเรขาคณิต a (1 - r n ) Sn = 1 1 - r เมื่อ r ≠ 1 ตัวอยางที่ 11 ขอใดตอไปนี้เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี 100 พจน 1) 1 + 3 + 5 + ... + (2n - 1) + ... + 199 1 2) 1 + 13 + 51 + ... + (2n1- 1) + ... + 199
3) 1 + 2 + 4 + ... + (2n-1) + ... + 2199 1 + 1 + ... + 1 + ... + 1 *4) 51 + 125 3125 5 2n-1 5199
ตัวอยางที่ 12 ผลบวกของอนุกรมเรขาคณิต 1 - 2 + 4 - 8 + ... + 256 เทากับขอใดตอไปนี้ 1) -171 2) -85 3) 85 *4) 171
ตัวอยางที่ 13 กําหนดให Sn เปนผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเรขาคณิต ซึ่งมีอัตราสวนรวมเทากับ 2 ถา S10 - S8 = 32 แลวพจนที่ 9 ของอนุกรมนี้เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 16 2) 20 3) 26 *4) 32 3 3 3 3
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (33)
ความนาจะเปน กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ 1. กฎการบวก ถาการทํางานอยางหนึ่งแบงออกเปน k กรณี โดยที่กรณีที่ 1 มีจํานวน n1 วิธี กรณีที่ 2 มีจํานวน n2 วิธี กรณีที่ 3 มีจํานวน n3 วิธี M
M
กรณีที่ k มีจํานวน nk วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีในการทํางานทั้งหมดจะเทากับ n1 + n2 + n3 + ... + nk วิธี 2. กฎการคูณ ถาการทํางานอยางหนึ่งแบงออกเปน k ขั้นตอน โดยที่ขั้นตอนที่ 1 มีจํานวน n1 วิธี ขั้นตอนที่ 2 มีจํานวน n2 วิธี ขั้นตอนที่ 3 มีจํานวน n3 วิธี M
M
ขั้นตอนที่ k มีจํานวน nk วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีในการทํางานทั้งหมดจะเทากับ n1 × n2 × n3 × ... × nk วิธี แฟกทอเรียล นิยาม กําหนดให n เปนจํานวนเต็มที่มีคามากกวาหรือเทากับ 0 ขึ้นไป n! = n × (n - 1) × (n - 2) × (n - 3) × ... × 3 × 2 × 1 เชน 5! = 5 × 4 × 3 × 2 × 1 8! = 8 × 7 × 6 × 5 × 4 × 3 × 2 × 1 * 0! = 1 ตัวอยางที่ 1 ในการคัดเลือกคณะกรรมการหมูบานซึ่งประกอบดวยประธานฝายชาย 1 คน ประธานฝายหญิง 1 คน กรรมการฝายชาย 1 คน และกรรมการฝายหญิง 1 คน จากผูสมัครชาย 4 คน และหญิง 8 คน มีวิธีการเลือกคณะกรรมการไดกี่วิธี 1) 168 วิธี 2) 324 วิธี *3) 672 วิธี 4) 1344 วิธี
คณิตศาสตร (34)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ตัวอยางที่ 2 มาลีตองการเดินทางจากเมือง A ไปยังเมือง C โดยตองเดินทางผานไปยังเมือง B กอน จากเมือง A ไปเมือง B มาลีสามารถเลือกเดินทางโดยรถยนต รถไฟ หรือเครื่องบินได แตจากเมือง B ไป เมือง C สามารถเดินทางไปทางเรือ รถยนต รถไฟ หรือเครื่องบิน ขอใดตอไปนี้คือจํานวนวิธีใน การเดินทางจากเมือง A ไปยังเมือง C ที่จะตองเดินทางโดยรถไฟเปนจํานวน 1 ครั้ง *1) 5 2) 6 3) 8 4) 9
ตัวอยางที่ 3 ครอบครัวหนึ่งมีพี่นอง 6 คน เปนชาย 2 คน หญิง 4 คน จํานวนวิธีที่จะจัดใหคนทั้ง 6 คนยืนเรียงกัน เพื่อถายรูป โดยใหชาย 2 คนยืนอยูริมสองขางเสมอเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 12 วิธี 2) 24 วิธี 3) 36 วิธี *4) 48 วิธี
การทดลองสุม คือ การทดลองใดๆ ซึ่งทราบวาผลลัพธอาจจะเปนอะไรไดบาง แตไมสามารถทํานายผล ลวงหนาได ความนาจะเปน คือ อัตราสวนระหวางจํานวนสมาชิกของเหตุการณที่สนใจกับจํานวนสมาชิกของแซมเปลสเปซ เขียนแทนดวย P(E) ความนาจะเปนของเหตุการณ E คือ P(E) = n(E) n(S) โดยที่ n(E) คือ จํานวนของเหตุการณที่สนใจ n(S) คือ จํานวนเหตุการณที่เปนไปไดทั้งหมด สมบัติของความนาจะเปน 1. 0 ≤ P(E) ≤ 1 2. P(φ) = 0, P(S) = 1 3. P(E1 U E2) = P(E1) + P(E2) - P(E1 I E2) 4. P(E1 U E2 U E3) = P(E1) + P(E2) + P(E3) - P(E1 I E2) - P(E1 I E3) - P(E2 I E3) + P(E1 I E2 I E3) 5. P(E) = 1 - P(E′) เมื่อ P(E′) แทนความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมตองการ
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (35)
ตัวอยางที่ 4 พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. การทดลองสุมเปนการทดลองที่ทราบวาผลลัพธอาจเปนอะไรไดบาง ข. แตละผลลัพธของการทดลองสุมมีโอกาสเกิดขึ้นเทาๆ กัน ขอสรุปใดตอไปนี้ถูกตอง 1) ก. และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก
4) ก. และ ข. ผิด
ตัวอยางที่ 5 โรงเรียนแหงหนึ่งมีรถโรงเรียน 3 คัน นักเรียน 9 คน กําลังเดินไปขึ้นรถโรงเรียนโดยสุม ความ นาจะเปนที่ไมมีนักเรียนคนใดขึ้นรถคันแรกเทากับขอใดตอไปนี้ 9 9 3 3 1) 13 *2) 23 3) 91 4) 92
ตัวอยางที่ 6 โรงแรมแหงหนึ่งมีหองวางชั้นที่หนึ่ง 15 หอง ชั้นที่สอง 10 หอง ชั้นที่สาม 25 หอง ถาครูสมใจ ตองการเขาพักในโรงแรมแหงนี้โดยวิธีสุมแลว ความนาจะเปนที่ครูสมใจจะไดเขาพักหองชั้นที่สอง ของโรงแรมเทากับขอใดตอไปนี้ 1 3 1) 10 *2) 51 3) 10 4) 12
ตัวอยางที่ 7 ในการหยิบบัตรสามใบ โดยหยิบทีละใบจากบัตรสี่ใบ ซึ่งมีหมายเลข 0, 1, 2 และ 3 กํากับ ความ นาจะเปนที่จะไดผลรวมของตัวเลขบนบัตรสองใบแรกนอยกวาตัวเลขบนบัตรใบที่สามเทากับขอใด *1) 14 2) 34 3) 12 4) 23
คณิตศาสตร (36)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ตัวอยางที่ 8 กลอง 12 ใบ มีหมายเลขกํากับเปนเลข 1, 2, ... , 12 และกลองแตละใบบรรจุลูกบอล 4 ลูก เปน ลูกบอลสีดํา สีแดง สีขาว และสีเขียว ถาสุมหยิบลูกบอลจากกลองแตละใบ ใบละ 1 ลูก แลว ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีแดงจากกลองหมายเลขคี่ และไดลูกบอลสีดําจากกลอง หมายเลขคูเทากับขอใดตอไปนี้ 1 12 1 12 1 4 1 2 1) 12 * 2) 3) 4) 4 2 12
ตัวอยางที่ 9 กําหนดให A = {1, 2, 3} B = {5, 6, ... , 14} และ r = {(m, n) | m ∈ A และ n ∈ B} ถาสุมหยิบคูอันดับ 1 คู จากความสัมพันธ r แลวความนาจะเปนที่จะไดคูอันดับ (m, n) ซึ่ง 5 หาร n แลวเหลือเศษ 3 เทากับขอใดตอไปนี้ 1 1 1) 15 2) 10 *3) 51 4) 53
ตัวอยางที่ 10 ชางไฟคนหนึ่งสุมหยิบบันได 1 อันจากบันได 9 อัน ซึ่งมีความยาว 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12 ฟุต แลวนํามาพาดกับกําแพง โดยใหปลายขางหนึ่งหางจากกําแพง 3 ฟุต ความนาจะเปนที่ บันไดจะทํามุมกับพื้นราบนอยกวา 60° มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 91 *2) 92 3) 93 4) 94
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (37)
ตัวอยางที่ 11 ถาสุมตัวเลขหนึ่งตัวจากขอมูลชุดใดๆ ซึ่งประกอบดวยตัวเลข 101 ตัว แลวขอใดตอไปนี้ถูก *1) ความนาจะเปนที่ตัวเลขที่สุมไดมีคานอยกวาคามัธยฐาน < 12 2) ความนาจะเปนที่ตัวเลขที่สุมไดมีคานอยกวาคาเฉลี่ยเลขคณิต < 12 3) ความนาจะเปนที่ตัวเลขที่สุมไดมีคานอยกวาคามัธยฐาน > 12 4) ความนาจะเปนที่ตัวเลขที่สุมไดมีคานอยกวาคาเฉลี่ยเลขคณิต > 12
คณิตศาสตร (38)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
สถิติ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive) คือ การวิเคราะหขั้นตนที่มุงวิเคราะห เพื่ออธิบายลักษณะกวางๆ ของ ขอมูลชุดนั้น เชน การวัดคาแนวโนมเขาสูสวนกลาง คาวัดการกระจาย การแจกแจงความถี่ของขอมูล และการ นําเสนอผลสรุปดวย ตาราง แผนภูมิแทง เพื่ออธิบายขอมูลชุดนั้น สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistice) คือ การวิเคราะหขอมูลที่เก็บรวบรวมไดจากตัวอยางเพื่อ อางอิงไปถึงขอมูลทั้งหมด องคประกอบของสถิติ 1. การเก็บรวบรวมขอมูล เชน การสอบถาม การสังเกต การทดลอง เปนตน 2. การวิเคราะหขอมูล โดยขอมูลที่นํามาวิเคราะหเพียงสวนหนึ่ง เรียกวา กลุมตัวอยางและขอมูลที่เลือก มาจากขอมูลทั้งหมด เรียกวา ประชากร 3. การนําเสนอขอสรุป ขอมูล คือ ขอความจริงหรือสิ่งที่บงบอกถึงสภาพ สถานการณหรือปรากฏการณ โดยที่ขอมูลอาจเปน ตัวเลขหรือขอความก็ได สารสนเทศหรือขาวสาร คือ ขอมูลที่ผานการวิเคราะหเบื้องตนหรือขั้นสูงแลว ประเภทของขอมูล 1. แบงตามวิธีเก็บ 1.1 ขอมูลปฐมภูมิ คือ ขอมูลที่ผูใชเก็บรวบรวมเอง เชน การสํามะโน การสํารวจกลุมตัวอยาง 1.2 ขอมูลทุติยภูมิ คือ ขอมูลที่ไดจากผูอื่นเก็บรวบรวมไวแลว เชน รายงาน บทความ เปนตน 2. แบงตามลักษณะของขอมูล 2.1 ขอมูลเชิงปริมาณ คือ ขอมูลที่ใชแทนขนาดหรือปริมาณซึ่งวัดออกมาเปนจํานวนที่สามารถ นํามาใชเปรียบเทียบกันไดโดยตรง 2.2 ขอมูลเชิงคุณภาพ คือ ขอมูลที่ไมสามารถวัดออกมาไดโดยตรง แตอธิบายลักษณะหรือคุณสมบัติ ในเชิงคุณภาพได ตัวอยางที่ 1 ขอใดตอไปนีเ้ ปนเท็จ 1) สถิติเชิงพรรณนาคือสถิติของการวิเคราะหขอมูลขั้นตนที่มุงอธิบายลักษณะกวางๆ ของขอมูล 2) ขอมูลที่เปนหมายเลขที่ใชเรียกสายรถโดยสารประจําทางเปนขอมูลเชิงคุณภาพ *3) ขอมูลปฐมภูมิคือขอมูลที่ผูใชเก็บรวบรวมจากแหลงขอมูลโดยตรง 4) ขอมูลที่นักเรียนรวบรวมจากรายงานตางๆ ที่ไดจากหนวยงานราชการเปนขอมูลปฐมภูมิ
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (39)
การวิเคราะหขอมูลเบื้องตน ขอมูลเชิงปริมาณที่ใชในการวิเคราะหทางสถิติมีสองประเภท คือ ขอมูลที่ไมไดแจกแจงความถี่ ซึ่งจะเห็นคา ของขอมูลทุกตัวและขอมูลที่แจกแจงความถี่ จะเห็นเปนอันตรภาคชั้น ความกวางของอันตรภาพชั้น = ขอบบน - ขอบลาง จุดกึ่งกลางอันตรภาคชั้น = (ขอบบน + ขอบลาง) ÷ 2 ฮิสโทแกรม คือ รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากวางเรียงตอกันบนแกนนอน โดยมีแกนนอนแทนคาของตัวแปร ความกวาง ของสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนความกวางของอันตรภาคชั้น และพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนความถี่ของแตละ อันตรภาคชั้น ซึ่งถาความกวางของทุกชั้นเทากัน ความสูงของรูปสี่เหลี่ยมจะแสดงความถี่ แผนภาพตน-ใบ (Stem-and-Leaf Plot) เปนวิธีการสรางแผนภาพเพื่อแจกแจงความถี่และวิเคราะห ขอมูลเบื้องตน โดยเริ่มจากการนําขอมูลมาแบงกลุม โดยใชเลขหลักสิบ แลวนํามาสรางเปนลําตน (Stem) แลวใช เลขโดดในหลักหนวยมาสรางเปนใบ (Leaf) การวัดตําแหนงของขอมูล : มีสองขั้นตอน คือ การหาตําแหนงและการหาคา 1. ควอรไทล (Quartiles) คือ การแบงขอมูลออกเปน 4 สวนเทาๆ กัน โดย Q1, Q2, และ Q3 คือ คะแนนของตัวแบงทั้ง 3 ตัว 2. เดไซล (Deciles) คือ การแบงขอมูลออกเปน 10 สวนเทาๆ กัน โดย D1, D2, ..., D9 คือ คะแนนของ ตัวแบงทั้ง 9 ตัว 3. เปอรเซ็นไทล (Percentiles) คือ การแบงขอมูลออกเปน 100 สวนเทาๆ กัน มี P1, ..., P99 คือ คะแนนของตัวแบงทั้ง 99 ตัว การหาตําแหนง : ตําแหนงของ Qr คือ r(N 4+ 1) ตําแหนงของ Dr คือ r(N10+ 1) ตําแหนงของ Pr คือ r(N100+ 1) การหาคา : ใชการเทียบบัญญัติไตรยางค หมายเหตุ เมื่อหาคาขอมูลที่มีคาสูงสุด ต่ําสุด Q1, Q2 และ Q3 สามารถนํามาสรางแผนภาพกลอง (Boxand-Whisker Plot หรือ Box-Plot) โดยแผนภาพจะทําใหเราทราบถึงลักษณะการกระจายของขอมูล การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง 1. คาเฉลี่ยเลขคณิต, Mean, x x ของขอมูลที่ไมแจกแจงความถี่ x ของขอมูลที่แจกแจงความถี่
N ∑ xi i=1
x= N x=
k ∑ fi x i i=1
N
คณิตศาสตร (40)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
N
ขอสังเกต 1. ∑ x i = N x
2. 3.
i=1 N ∑ (x i i=1 N ∑ (x i i=1
- x) = 0 - a ) 2 มีคานอยที่สุดเมื่อ a = x
4. ถา x1, x2, x3, ... , xn มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปน x x1 + k, x2 + k, x3 + k, ... , xn + k มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปน x + k x1k, x2k, x3k, ..., xnk มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปน x k N x +N x 5. x รวม = 1N 1 + N2 2 2
2
2. มัธยฐาน, Median, Me Me สําหรับขอมูลที่ไมแจกแจงความถี่ Me = คาของขอมูลตําแหนงตรงกลาง (ตัวที่ N 2+ 1 ) เมื่อเรียงลําดับขอมูลแลว ขอสังเกต 1. การหามัธยฐานมีสองขั้นตอน คือ หาตําแหนง และหาคาโดยใชสูตรหรือการเทียบบัญญัติไตรยางค N
2. ∑ | x i - a | มีคานอยสุดเมื่อ a = Me i=1
3. ฐานนิยม, Mode, Mo Mo สําหรับขอมูลที่ไมแจกแจงความถี่ ขอสังเกต ใชไดกับขอมูลเชิงคุณภาพ
Mo = คาของขอมูลที่มีความถี่มากที่สุด
ตัวอยางที่ 2 สวนสูงของพี่นอง 2 คน มีพิสัยเทากับ 12 เซนติเมตร มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 171 เซนติเมตร ขอใดตอไปนี้เปนสวนสูงของพี่หรือนองคนใดคนหนึ่ง 1) 167 เซนติเมตร 2) 172 เซนติเมตร 3) 175 เซนติเมตร *4) 177 เซนติเมตร
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (41)
ตัวอยางที่ 3 ขอมูลชุดหนึ่งประกอบดวย 4, 9, 2, 7, 6, 5, 4, 6, 3, 4 ขอใดตอไปนีถ้ ูกตอง 1) คาเฉลี่ยเลขคณิต < ฐานนิยม < มัธยฐาน *2) ฐานนิยม < มัธยฐาน < คาเฉลี่ยเลขคณิต 3) ฐานนิยม < คาเฉลี่ยเลขคณิต < มัธยฐาน 4) มัธยฐาน < ฐานนิยม < คาเฉลี่ยเลขคณิต
ตัวอยางที่ 4 ความสูงในหนวยเซนติเมตรของนักเรียนกลุมหนึ่งซึ่งมี 10 คน เปนดังนี้ 155, 157, 158, 158, 160, 161, 161, 163, 165, 166 ถามีนักเรียนเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน ซึ่งมีความสูง 158 เซนติเมตร แลวคาสถิติใดตอไปนี้ไมเปลี่ยนแปลง 1) คาเฉลี่ยเลขคณิต 2) มัธยฐาน 3) ฐานนิยม *4) พิสัย
ตัวอยางที่ 5 การเลือกใชคากลางของขอมูลควรพิจารณาสิ่งตอไปนี้ ยกเวนขอใด 1) ลักษณะของขอมูล *2) วิธีจัดเรียงลําดับขอมูล 3) จุดประสงคของการนําไปใช 4) ขอดีและขอเสียของคากลางแตละชนิด การวัดการกระจายของขอมูล 1. พิสัย (Range) Range = xmax - xmin 2. สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
S.D. = ขอสังเกต 1. 2. 3. 4.
N 2 ∑ (x i - x) i=1
N 2 ∑xi i =1
2 = N N -x ความแปรปรวน (Variance) = S.D.2 = S2 S.D. ≥ 0 S.D. = 0 ↔ x1 = x2 = ... = xn = x ถา x1, x2, ..., xn มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน S.D. ความแปรปรวนเปน S.D.2 x1 + k, x2 + k, ..., xn + k มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน S.D. ความแปรปรวนเปน S.D.2 x1k, x2k, ..., xnk มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน S.D.|k| ความแปรปรวนเปน S.D.2k2
คณิตศาสตร (42)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
5. The 95% Rule กลาววา มีจํานวนขอมูลที่อยูในชวง ( x - 2s, x + 2s) ประมาณ 95% ของจํานวนขอมูลทั้งหมด 6. โดย The 95% Rule ไดวา s ≈ Range 4 ความสัมพันธของ x , Me และ Mo x = Me = Mo โคงปกติ
x > Me > Mo โคงเบขวา
x < Me < Mo โคงเบซาย
การสํารวจความคิดเห็น 1. ขอบเขตของการสํารวจ กําหนดดวยพื้นที่ ลักษณะผูใหขอมูล การมีสวนไดสวนเสียกับขอมูล 2. วิธีเลือกตัวอยาง การสุมตัวอยาง (Sampling) การเลือกตัวอยางแบบชั้นภูมิ การเลือกตัวอยางแบบ หลายขั้นและการเลือกตัวอยางแบบกําหนดโควตา 3. การสรางแบบสํารวจความคิดเห็น แบบสํารวจที่ดีประกอบดวย ลักษณะของผูตอบที่คาดวามีผลตอ การแสดงความคิดเห็น ความคิดเห็นของผูตอบในดานตางๆ และขอเสนอแนะ โดยตองไมเปนคําถามที่ชี้นํา และมี จํานวนไมมากเกินไป ตลอดจนความสอดคลองของความรูของผูใหขอมูลกับเรื่องที่สอบถาม 4. การประมวลผลและวิเคราะหความคิดเห็น 1. รอยละของผูตอบแบบสํารวจความคิดเห็นในแตละดานที่เกี่ยวของ 2. ระดับความคิดเห็นเฉลี่ย ตัวอยางที่ 6 ขอมูลชุดหนึ่งมีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 20 มัธยฐานเทากับ 25 และฐานนิยมเทากับ 30 ขอสรุปใด ตอไปนี้ถูกตอง *1) ลักษณะการกระจายของขอมูลเปนการกระจายที่เบทางซาย 2) ลักษณะการกระจายของขอมูลเปนการกระจายที่เบทางขวา 3) ลักษณะการกระจายของขอมูลเปนการกระจายแบบสมมาตร 4) ไมสามารถสรุปลักษณะการกระจายของขอมูลได
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (43)
ตัวอยางที่ 7 พิจารณาขอมูลตอไปนี้ 10, 5, 6, 9, 12, 15, 8, 18 คาของ P80 ใกลเคียงกับขอใดตอไปนีม้ ากที่สุด 1) 15.1 2) 15.4 *3) 15.7 4) 16.0
ตัวอยางที่ 8 ในกรณีที่มีขอมูลจํานวนมาก ขอมูลไดชัดเจนนอยที่สุด 1) ตารางแจกแจงความถี่ 3) ฮิสโทแกรม
การนําเสนอขอมูลในรูปแบบใดตอไปนี้ทําใหเห็นการกระจายของ 2) แผนภาพตน-ใบ *4) การแสดงคาสังเกตทุกคา
ตัวอยางที่ 9 จากการสอบถามเยาวชนจํานวน 12 คน วาเคยฟงพระธรรมเทศนามาแลวจํานวนกี่ครั้ง ปรากฏผล ดังแสดงในแผนภาพตอไปนี้ จํานวนเยาวชน 5 4 3 2 1 0 1 2 3 4 5 6
จํานวนครั้งที่เคยฟงพระธรรมเทศนา
มัธยฐานของขอมูลนี้คือขอใด *1) 3 ครั้ง 2) 3.25 ครั้ง
3) 3.5 ครั้ง
4) 4 ครั้ง
ตัวอยางที่ 10 ขอใดตอไปนี้มีผลกระทบตอความถูกตองของการตัดสินใจโดยใชสถิติ ยกเวนขอใด 1) ขอมูล 2) สารสนเทศ 3) ขาวสาร *4) ความเชื่อ
คณิตศาสตร (44)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
เก็งขอสอบ O-NET 1. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธคือเซต U = {a, b, c, d, e} และ A, B, C เปนเซตใดๆ ซึ่งเปนสับเซตใน U โดยมี เงื่อนไข ดังนี้ n(A) = n(B) = n(C) = 3 n(A I B) = n(B I C) = n(A I C) = 2 และ n(A U B U C) = n(U) ขอใดตอไปนีผ้ ิด 1) n[A U (B I C)] = 3 2) n(A U C) = 4 3) n[A I (B I C)] = 2 4) n(A I B I C) = 1 2. กําหนดให A = {1, 2, {3}} ขอใดตอไปนีผ้ ิด 1) 1 ∈ A 2) {3} ∈ P(A) 3) {2, {3}} ⊂ A 4) {{1, 2}, {3}} ⊂ P(A) 3. กําหนดให a, b, c และ d เปนจํานวนจริงใดๆ โดยที่ 0 < a < b และ d < c < 0 จงพิจารณาขอความ ตอไปนี้ ก. ac > bd ข. ac < db 1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 4. กําหนดให A คือ เซตคําตอบของอสมการ |2x + 1| ≤ 5 และ B คือ เซตคําตอบของอสมการ |x + 3| ≥ 2 ขอใดตอไปนี้ คือเซตคําตอบของ A I B 1) [-5, -1] 2) [-1, 2] 3) [-5, 2] 4) [-1, 5] 5. ถา x - 1 หารพหุนาม x2 + 2x - 1 เศษเหลือมีคาเทากับ a และ x - 2 หารพหุนาม x2 + 3ax - b ลงตัว แลวคาของ a + b มีคาตรงกับขอใด 1) 12 2) 14 3) 16 4) 18 + 1 + 5 4n + 1 6. กําหนดให n เปนจํานวนเต็ม 55n 53n + 1 + 52n + 1 1) 5 3) 125
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
3/2n
มีคาตรงกับขอใด 2) 25 4) 625
______________________________ คณิตศาสตร (45)
7. กําหนดให 5 - a = 7 - 2 10 คาของ a ตรงกับขอใด 1) 2 2) 3 3) 4 4) 5 8. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4, 5, 6, ...} และ B = {{1}, {2, 3}, 4, 5, 6, ...} จํานวนความสัมพันธทั้งหมดจากเซต A - B ไปเซต B - A มีคาเทาใด 1) 16 จํานวน 2) 32 จํานวน 3) 64 จํานวน 4) 128 จํานวน 9. ถาสามจํานวนนี้เรียงกันเปนลําดับเลขคณิตคือ x - 2, x, x2 - 4 แลวผลบวกของคา x ทั้งหมดตรงกับขอใด 1) -2 2) -1 3) 1 4) 2
คณิตศาสตร (46)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
เฉลย 1. เฉลย 4) n(A I B I C) = 1 จากสูตร n(A U B U C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A I B) - n(A I C) - n(B I C) + n(A I B I C) และ n(A U B U C) = n(U) = 5 จะไดวา 5 = 3 + 3 + 3 - 2 - 2 - 2 + n(A I B I C) n(A I B I C) = 5 - 9 + 6 = 2 2. เฉลย 2) {3} ∈ P(A) ที่ถูกตอง คือ {{3}} ∈ P(A) 3. เฉลย 2) ก. ถูก และ ข. ผิด จาก 0 < a < b สมมติให a = 4, b = 9 จาก d < c < 0 สมมติให d = -3, c = -2 ก. ac > bd 4(-2) > 9(-3) -8 > -27 ดังนั้น ก. ถูก a < b ข. c d 4 < 9 -2 -3 -2 < -3 ดังนั้น ข. ผิด
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (47)
4. เฉลย 2) [-1, 2] จาก จะได
จะได จาก จะได
|2x + 1| -5 ≤ 2x + 1 -5 - 1 ≤ 2x + 1 - 1 -6 -6 2 -3 A |x + 3| x + 3 ≤ -2 x ≤ -5 B AIB
≤ ≤ ≤ ≤ ≤ ≤
= ≥
หรือ หรือ = =
5 5 5-1 2x ≤ 4 2x ≤ 4 2 2 x ≤ 2 [-3, 2] 2 |x + 3| ≥ 2 x ≥ -1 (-∞, -5] U [-1, ∞) [-1, 2]
จะได ดังนั้น 5. เฉลย 4) 18 ให p(x) = x2 + 2x - 1 จาก x - 1 หารพหุนาม x2 + 2x - 1 เศษเหลือมีคาเทากับ a นั่นคือ p(1) = a 2 1 + 2(1) - 1 = a a = 2 ให q(x) = x2 + 3ax - b q(x) = x2 + 3(2)x - b q(x) = x2 + 6x - b จาก x - 2 หารพหุนาม x2 + 3ax - b ลงตัว นั่นคือ q(2) = 0 22 + 6(2) - b = 0 b = 16 ดังนั้น a + b = 2 + 16 = 18
คณิตศาสตร (48)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
6. เฉลย 3) 125
จาก
55n +1 + 54n +1 53n +1 + 52n + 1
3/2n
=
=
= = = = = 7. เฉลย 1) 2 จาก
5 4n +1 (5n + 1) 52n +1 (5n + 1)
3/2n
3/2n
5 4n +1 52n +1 [5(4n+1)-(2n+1)]3/2n [52n]3/2n 52n ⋅ 3/2n 53 125
5 -
a
=
7 - 2 10
5 -
a
=
(5 + 2) - 2 5 ⋅ 2
5 -
a
=
( 5 )2 - 2 5 ⋅ 2 + ( 2 )2
5 5 -
a = ( 5 - 2 )2 a = 5 - 2 a = 2
จะได 8. เฉลย 3) 64 จํานวน
A - B = {1, 2, 3} จะได n(A - B) = 3 B - A = {{1}, {2, 3}} จะได n(B - A) = 2 จากสูตร จํานวนความสัมพันธทั้งหมดจากเซต A ไปเซต B เทากับ 2n(A)×n(B) ดังนั้น จํานวนความสัมพันธทั้งหมดจากเซต A - B ไปเซต B - A เทากับ 2n(A-B)×n(B-A) = 23×2 = 26 = 64 จํานวน
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (49)
9. เฉลย 3) 1 จาก x - 2, x, x2 - 4 เปนลําดับเลขคณิต นั่นคือ (x2 - 4) - x = x - (x - 2) x2 - x - 4 = 2 x2 - x - 6 = 0 (x - 3)(x + 2) = 0 จะได x = -2, 3 ดังนั้น ผลบวกของคา x ทั้งหมดเทากับ -2 + 3 = 1
คณิตศาสตร (50)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ตรรกศาสตร ประพจน (Proposition หรือ Statement) คือ ประโยคที่เปน “จริง” หรือ “เท็จ” อยางใดอยางหนึ่งเทานั้น ประโยคที่มีลักษณะดังกลาวจะอยูในรูป ประโยคบอกเลาหรือประโยคปฏิเสธก็ได การเชื่อมประพจน เปนการนําเอาประพจนมาสรางเปนประพจนใหม โดยเติมตัวเชื่อม (connectives) ตัวเชื่อมประพจนหลักๆ มีอยู 5 ชนิด ไดแก คําวา “และ” (∧), “หรือ” (∨), “ถา...แลว...” (⇒), “ก็ตอเมื่อ” (⇔) และ “นิเสธ (ไม)” (∼) ประพจนที่นํามาเชื่อมกันดวยตัวเชื่อมตางๆ เรียกวา ประพจนยอย (atomic statement) การหาคาความจริงของประพจน p T T F F
q T F T F
p∧q T F F F
p∨q p→q T T T F T T F T
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
p↔q T F F T
∼p
∼q
F F T T
F T F T
______________________________ คณิตศาสตร (51)
ขอสังเกตเกี่ยวกับคาความจริงที่ไดจากการเชื่อมประพจน ตัวเชื่อม ∧
T ทุกประพจนเปน T
F มีประพจนอยางนอย 1 ตัวเปน F
∨
มีประพจนอยางนอย 1 ตัวเปน T
ทุกประพจนเปน F
⇒
F ⇒ ? (หนาเปน F) ?⇒T
⇔
(หลังเปน T)
หนา-หลัง เหมือนกัน
T ⇒ F (หนาเปน T และหลังเปน F) หนา-หลัง ตางกัน
ประพจนที่สมมูลกัน คือ ประพจนที่มีคาความจริงเหมือนกันทุกกรณี กรณีตอกรณี แทนดวย p ≡ q ประพจนที่ไมสมมูลกัน คือ ประพจนที่มีคาความจริงตางกันอยางนอยหนึ่งกรณี แทนดวย p ≡ q ประพจนที่เปนนิเสธกัน คือ ประพจนที่มีคาความจริงตรงขามกันทุกกรณี กรณีตอกรณี แทนดวย p ≡ ∼q การตรวจสอบประพจนที่สมมูล ทําได 3 วิธี คือ 1. ใชตาราง 2. ใชรูปแบบประพจนที่สมมูล 3. แทนคาประพจน สัจนิรันดร (Tautology) คือ รูปแบบของประพจนที่มีคาความจริงเปนจริงทุกกรณี การตรวจสอบสัจนิรันดร ทําได 3 วิธี คือ 1. ใชตาราง 2. ใชรูปแบบประพจนที่สมมูล 3. การหาขอขัดแยง รูปแบบของประพจนที่สมมูลกัน ≡ q∧p 1. p ∧ q ≡ q∨p 2. p ∨ q ≡ p 3. p ∧ p ≡ p 4. p ∨ p 5. (p ∧ q) ∧ r ≡ p ∧ (q ∧ r) 6. (p ∨ q) ∨ r ≡ p ∨ (q ∨ r) 7. p ∧ (q ∨ r) ≡ (p ∧ q) ∨ (p ∧ r) 8. p ∨ (q ∧ r) ≡ (p ∨ q) ∧ (p ∨ r) 9. p ⇒ (q ∧ r) ≡ (p ⇒ q) ∧ (p ⇒ r) 10. p ⇒ (q ∨ r) ≡ (p ⇒ q) ∨ (p ⇒ r)
คณิตศาสตร (52)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
11. (p ∧ q) ⇒ r ≡ (p ⇒ r) ∨ (q ⇒ r) 12. (p ∨ q) ⇒ r ≡ (p ⇒ r) ∧ (q ⇒ r) 13. p ⇒ q ≡ ∼p ∨ q ≡ ∼q ⇒ ∼p ** ≡ q⇔p ≡ ∼p ⇔ ∼q ≡ ∼q ⇔ ∼p 14. p ⇔ q ≡ p 15. ∼(∼p) 13. ∼(p ∧ q) ≡ ∼p ∨ ∼q ≡ ∼p ∧ ∼q 17. ∼(p ∨ q) 18. ∼(p ⇒ q) ≡ p ∧ ∼q ≡ ∼q ⇔ p 19. ∼(p ⇔ q) ≡ ∼p ⇔ q ≡ p ⇔ ∼q ≡ q ⇔ ∼p ขอสังเกตของสมมูล 1. ♥ ∨ ∼♥ ≡ T 2. ♥ ∧ ∼♥ ≡ F ≡ T 3. ♥ ∨ T 4. ♥ ∧ T ≡ ♥ ≡ ♥ 5. ♥ ∨ F ≡ F 6. ♥ ∧ F ≡ ♥ 7. T ⇒ ♥ ≡ ∼♥ 8. ♥ ⇒ F ≡ T 9. ♥ ⇒ T ≡ T 10. F ⇒ ♥ ประโยคเปด คือ ประโยคบอกเลา หรือประโยคปฏิเสธ ที่มีตัวแปรและเมื่อแทนคาของตัวแปรดวยสมาชิกในเอกภพ สัมพัทธแลวไดประพจน เชน กําหนดใหเอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนจริง 2x + 1 = 3 เปนประโยคเปด เพราะเมื่อแทน x ดวยจํานวนจริงใดๆ แลวไดประพจน แทน x = 1 ได 2(1) + 1 = 3 จริง แทน x = 3 ได 2(3) + 1 = 3 เท็จ สัญลักษณแทนประโยคเปด P(x), Q(x), R(x), ... แทน ประโยคเปดที่มีตัวแปรเปน x เชน P(x) : x + 3 = 2 P(x, y), Q(x, y), R(x, y), ... แทน ประโยคเปดที่มีตัวแปรเปน x, y เชน Q(x, y) : x - 2y = 0
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (53)
ตัวบงปริมาณ (Quantifier) ∀x แทนคําวา “สําหรับ x ทุกตัว” หรือ “สําหรับแตละคาของ x” ∃x แทนคําวา “สําหรับ x บางตัว” หรือ “มี x บางคา” เชน คาความจริงของประโยคเปดที่มีตัวบงปริมาณ (ตัวแปรเดียว) ประพจน
มีคาความจริงเปน “จริง” เมื่อ ทุก x ∈ U แทนใน P(x) แลวทําให P(x) เปนจริง มีบาง x ∈ U แทนใน P(x) แลวทําให P(x) เปนจริง
∀x[P(x)] ∃x[P(x)]
มีคาความจริงเปน “เท็จ” เมื่อ มีบาง x ∈ U แทนใน P(x) แลวทําให P(x) เปนเท็จ ทุก x ∈ U แทนใน P(x) แลวทําให P(x) เปนเท็จ
คาความจริงของประโยคเปดที่มีตัวบงปริมาณ (หลายตัวแปร) ประพจน
ตัวอยาง
∀x∀y[P(x,
y)]
∀x∃y[P(x,
y)]
∃x∀y[P(x,
y)]
∃x∃y[P(x,
y)]
มีคาความจริงเปน “จริง” ทุก x, y ∈ U เมื่อแทนใน P(x, y) แลวทําให P(x, y) เปนจริง ทุก x ∈ U จะมี y ∈ U เมื่อแทนใน P(x, y) แลวทําให P(x, y) เปนจริง มีบาง x ∈ U ซึ่งทุก y ∈ U เมื่อแทนใน P(x, y) แลวทําให P(x, y) เปนจริง มีบาง x, y ∈ U เมื่อแทนใน P(x, y) แลวทําให P(x, y) เปนจริง
มีคาความจริงเปน “เท็จ” มีบาง x, y ∈ U เมื่อแทนใน P(x, y) แลวทําให P(x, y) เปนเท็จ มีบาง x ∈ U ที่ทุก y ∈ U เมื่อแทนใน P(x, y) แลวทําให P(x, y) เปนเท็จ ทุก x ∈ U จะมี y ∈ U เมื่อแทนใน P(x, y) แลวทําให P(x, y) เปนเท็จ ทุก x, y ∈ U เมื่อแทนใน P(x) แลวทําให P(x) เปนเท็จ
จงหาคาความจริงของประโยคเปดที่มีตัวบงปริมาณ เมื่อกําหนดเอกภพสัมพัทธใหในแตละขอตอไปนี้ 1. ∀x∀y[x + y = y + x] เมื่อ U = {0, 1} เมื่อ U = {0, 1, 2} 2. ∀x∃y[y < x] เมื่อ U = {-1, 0, 1} 3. ∃x∀y[x + y = 0] เมื่อ U = {4, 5, 6} 4. ∃x∃y[x + 3 = 2y]
คณิตศาสตร (54)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
สมมูลของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ ∀x[P(x)] ≡ ∀x[Q(x)] ก็ตอเมื่อ P(x) ≡ Q(x) ∃x[P(x)] ≡ ∃x[Q(x)] ก็ตอเมื่อ P(x) ≡ Q(x) นิเสธของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ ∼∀x[P(x)] ≡ ∃x[∼P(x)] ∼∃x[P(x)] ≡ ∀x[∼P(x)] ∼∀x∀y[P(x, y)] ≡ ∃x∃y[∼P(x, y)] ∼∃x∀y [P(x, y)] ≡ ∀x∃y[∼P(x, y)] การอางเหตุผล ประกอบดวยสวนที่สําคัญ 2 สวน คือ 1. เหตุหรือสิ่งที่กําหนดให ไดแก P1, P2, P3, …, Pn 2. สวนที่เปนผล ไดแก Q การตรวจสอบการอางเหตุผล 1. สรางประพจน เพื่อตรวจสอบสัจนิรันดร (1) เชื่อมเหตุทุกตัว “และ” จะได P1 ∧ P2 ∧ P3 ∧ ... ∧ Pn (2) เชื่อม “ขอ 1” กับ “ผล” ดวย “⇒” จะได (P1 ∧ P2 ∧ P3 ∧ ... ∧ Pn) ⇒ Q (3) ถาประพจนในขอ (2) เปนสัจนิรันดร แสดงวา การอางเหตุผล “สมเหตุสมผล (valid)” ถาประพจนในขอ (2) ไมเปนสัจนิรันดร แสดงวา การอางเหตุผล “ไมสมเหตุสมผล (invalid)” 2. ใชรูปแบบประพจนที่สมเหตุสมผล รูปแบบการอางเหตุผลที่สมเหตุสมผล 2) เหตุ 1. p → q 1) เหตุ 1. p → q 2. p 2. ∼q ผล q ผล ∼p 3) เหตุ 1. p ∨ q 2. ∼p (หรือ ∼q) ผล q (หรือ p)
4) เหตุ 1. p → q 2. q → r ผล p → r
5) เหตุ 1. p → q 2. q → s 3. p ∨ q ผล r ∨ s
6) เหตุ 1. p ∧ q ผล p (หรือ q)
7) เหตุ 1. p → q ผล ∼p ∨ q หรือ ∼q → ∼q
8) เหตุ 1. p ผล p ∨ q ∨ r
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (55)
แบบทดสอบ 1. กําหนดให p, q และ r เปนประพจน พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ถา q ∧ r มีคาความจริงเปนจริง แลว p และ p ∨ [(q ∧ r) ⇒ p] มีคาความจริงเหมือนกัน ข. ถา p มีคาความจริงเปนเท็จ แลว r และ (p ⇒ q) ∧ r มีคาความจริงเหมือนกัน ขอใดตอไปนี้เปนจริง *1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 2. กําหนดให ประพจน (∼p ↔ ∼r) ∨ (p ↔ q) มีคาความจริงเปนเท็จ ประพจนใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ 2) ∼p → (q ∧ r) 3) p ∨ q ∨ ∼r *4) p ∧ q ∧ ∼r 1) ∼p → (q ∨ r) 3. กําหนดให p, q และ r เปนประพจน ถาประพจน p → (q ∧ r) มีคาความจริงเปนเท็จ และ (p ∨ q) ↔ r มีคาความจริงเปนจริง แลวพิจารณาคาความจริงของประพจนตอไปนี้ ข. p ↔ (q ∨ ∼r) ก. (p ↔ q) ↔ ∼r 1) ก. และ ข. จริง 2) ก. จริง และ ข. เท็จ 3) ก. เท็จ และ ข. จริง 4) ก. และ ข. เท็จ 4. กําหนดให p, q, r เปนประพจน จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ประพจน p ⇒ (p ⇒ (q ∨ r)) สมมูลกับประพจน p ⇒ (q ∨ r) ข. ประพจน p ∧ (q ⇒ r) สมมูลกับประพจน (q ⇒ p) ∨ ∼(p ⇒ ∼r) ขอใดตอไปนี้ถูก 1) ก. และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 5. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ถา q มีคาความจริงเปนเท็จแลว ประพจน p → (q → r) มีคาความจริงเปนจริง ข. นิเสธของประพจน (p → q) → r คือ (∼p ∧ ∼r) ∨ (∼r ∧ q) ขอใดตอไปนี้ถูก *1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด 6. กําหนด p, q, r และ s เปนประพจน ประพจนในขอใดตอไปนี้ไมเปนสัจนิรันดร 2) [p ∨ (q ∧ r)] ∨ ∼[p ∨ (q ∧ r)] 1) [(p ∨ (q ∧ r)] ↔ [(p ∨ q) ∧ (p ∨ r)] 3) [(p ∨ q) → r] ↔ [∼r → (∼p ∧ ∼q)] *4) [(p → q) ∧ (q → r) ∧ (s ∨ ∼r) ∧ ∼s] ↔ p 7. ประพจนตอไปนี้ขอใดเปนสัจนิรันดร ก. [(p → q) ∨ (q → r)] ∨ (p → r) เมื่อ p, q และ r เปนประพจนใดๆ ข. (∼p → q) ∨ (∼p ∨ q) เมื่อ p และ q เปนประพจนใดๆ ขอใดตอไปนี้ถูก *1) ก. และ ข. เปนสัจนิรันดร 2) ก. เปน แต ข. ไมเปนสัจนิรันดร 3) ก. ไมเปน แต ข. เปนสัจนิรันดร 4) ก. และ ข. ไมเปนสัจนิรันดร
คณิตศาสตร (56)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
8. เอกภพสัมพัทธในขอใดตอไปนี้ ทําใหประโยค ก. และ ข. ที่กําหนดใหขางลางนี้มีคาความจริงเปนเท็จทั้งคู ก. ∀x [(x2 - 1)(x2 - 3x) = 0] ข. ∃x[ |x| + 2 = 2] 1) {-2, 0, 1, 2} 2) {-1, 0, 1, 3} *3) {-3, -1, 0, 1} 4) {-1, 0, 2, 3} 9. พิจารณาประโยคตอไปนี้ ก. ∃x[ |x| + 2 < x] ข. ∃x[2|x| > 3x] เอกภพสัมพัทธในขอใดทําใหประโยค ก. และ ข. มีคาความจริงเปนจริง 1) {-2, 0, 2} *2) {-2, 0, 3} 3) {0, 1, 2} 4) {0, 1, 3} 10. เอกภพสัมพัทธ U ที่กําหนดใหขอใดตอไปนี้ที่ทําใหประโยค ∃x [2x2 + x - 1 ≤ 0 ∧ x 2 - 4x + 4 ≤ 3] มีคาความจริงเปนจริง 1) U = เซตของจํานวนเต็มบวกคู 2) U = เซตของจํานวนเต็มบวกคี่ 3) U = เซตของจํานวนเต็มลบคู *4) U = เซตของจํานวนเต็มลบคี่
2 11. กําหนดให U = x ∈ R (xx -+1)5 < 1
ให P(x) แทนประโยค |x| < 5 และ Q(x) แทนประโยค 1 < x2 < 16 ถา U เปนเอกภพสัมพัทธ แลวขอความในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ 1) ∀x[P(x)] ⇒ ∀x[Q(x)] 2) ∃x[P(x)] ∧ ∃x[Q(x)] 3) ∀x[P(x)] ∨ ∃x[Q(x)] *4) ∃x[Q(x)] ⇒ ∀x[P(x)] 12. กําหนดให P(x) และ Q(x) เปนประโยคเปด โดยที่ ∀x[P(x)] → ∃x[∼Q(x)] มีคาความจริงเปนเท็จ เมื่อ เอกภพสัมพัทธ คือเซตของจํานวนจริง ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง 1) ∃x[P(x) ∧ ∼Q(x)] 2) ∃x[∼Q(x) ∨ ∼Q(x)] 3) ∀x[P(x) → ∼Q(x)] *4) ∀x[P(x) → Q(x)] 13. กําหนดให เอกภพสัมพัทธ คือ U = {-3, -2, -1, 1, 2, 3} ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ 1) ∃x∀y[x + y < y] 2) ∃x∀y[x - y2 < x] *3) ∃x∀y[xy2 = x] 4) ∃x∀y[x2y = y] 14. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธคือเซต {-2, -1, 1, 2} ประโยคในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ 1) ∃x∃y[x ≤ 0 ∧ |x| = y + 1] 2) ∃x∀y[x ≤ y ∧ -(x + y) ≥ 0] 3) ∀x∃y[x + y = 0 ∨ x - y = 0] *4) ∀x∀y[|x| < |y| ∨ |x| > |y|] 15. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธคือ U = {{1, 2}, {1, 3}, {2, 3}} ขอใดตอไปนีถ้ ูก *1) ∀x∀y[x I y ≠ ∅] 2) ∀x∀y[x U y = U] 3) ∀x∃y[y ≠ x ∧ y ⊂ x] 4) ∃x∀y[y ≠ x ∧ y ⊂ x]
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (57)
16. กําหนดให U = { n ∈ I+ | n ≤ 10 } ประโยคในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ 1) ∀x∀y[(x2 = y2) ⇒ (x = y)] *2) ∀x∃y[(x ≠ 1) ⇒ (x > y2)] 3) ∃x∀y[xy ≤ x + y] 4) ∃x∃y[(x - y)2 ≥ y2 + 9xy] 17. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ใหเอกภพสัมพัทธคือเซตของจํานวนเฉพาะบวก ขอความ ∀x∃y[x2 + x + 1 = y] มีคาความจริง เปนจริง ข. นิเสธของขอความ ∀x[P(x) → (Q(x) ∨ R(x))] คือ ∃x[P(x) ∧ ∼Q(x) ∧ ∼R(x)] ขอใดตอไปนี้ถูก 1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด *3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 18. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ถา p, q เปนประพจน โดยที่ p มีคาความจริงเปนจริง และ ∼q → (∼p ∨ q) เปนสัจนิรันดร แลว q มีคาความจริงเปนจริง ข. นิเสธของขอความ ∃x[(∼P(x)) ∧ Q(x) ∧ (∼R(x))] คือขอความ ∀x[Q(x) → (P(x) ∨ R(x))] ขอใดตอไปนีถ้ ูก *1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 19. กําหนดให P(x) และ Q(x) เปนประโยคเปด โดยที่ ∀x[P(x)] ⇒ ∃x[∼Q(x)] มีคาความจริงเปนเท็จ เมื่อ เอกภพสัมพัทธ คือเซตของจํานวนจริง ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง 1) ∀x[∼P(x)] ⇒ ∃x[Q(x)] *2) ∀x[Q(x)] ⇒ ∃x[∼P(x)] 3) ∃x[P(x)] ⇒ ∀x[Q(x)] 4) ∃x[∼Q(x)] ⇒ ∀x[P(x)] 20. นิเสธของขอความ ∀x∃y[(xy = 0 ∧ x ≠ 0) → y = 0] สมมูลกับขอความในขอใดตอไปนี้ 1) ∃x∀y[(xy = 0 ∨ x = 0) ∧ y ≠ 0] 2) ∃x∀y[(xy ≠ 0 ∧ x = 0) ∨ y = 0] *3) ∃x∀y[(xy = 0 ∧ x ≠ 0 ∧ y ≠ 0] 4) ∃x∀y[xy ≠ 0 ∨ x = 0 ∨ y = 0] 21. นิเสธของ ∀r > 0 ∃s > 0 ∀x ∈ R [|x + 1| < s → |f(x) - 2| < r] คือประพจนในขอใดตอไปนี้ 1) ∃r ≤ 0 ∀s ≤ 0 ∃x ∈ R [|x + 1| ≥ s → |f(x) - 2| ≥ r] *2) ∃r > 0 ∀s > 0 ∃x ∈ R [|x + 1| < s ∧ |f(x) - 2| ≥ r] 3) ∃r ≤ 0 ∀s ≤ 0 ∃x ∈ R [|x + 1| < s ∧ |f(x) - 2| ≥ r] 4) ∃r > 0 ∀s > 0 ∃x ∈ R [|f(x) - 2| ≥ r → |x + 1| ≥ s]
คณิตศาสตร (58)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
22. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ถา p ⇒ (q ∧ r) มีคาความจริงเปนจริง และ (p ∨ q) ⇒ r มีคาความจริงเปนเท็จ แลว q ⇒ (p ∨ r) มีคาความจริงเปนจริง ข. การอางเหตุผลตอไปนี้สมแหตุสมผล เหตุ 1. (∼p) ∨ q 2. (p ∨ q) ⇒ ∼r 3. p ⇒ ∼r ผล q ∨ r ขอใดตอไปนีถ้ ูก 1) ก. และ ข ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก *4) ก. และ ข. ผิด 23. กําหนดให เหตุ 1. ∼p → ∼q 2. p → (r ∨ s) 3. q ∨ t 4. ∼t ผลในขอใดตอไปนี้ทําใหการอางเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล 1) s → r 2) s → ∼r 3) r → ∼s *4) ∼r → s 24. พิจารณาการใหเหตุผลตอไปนี้ ก. เหตุ 1. p → (q → r) ข. เหตุ 1. p → (q → ∼s) 2. p 2. p ∧ s 3. ∼t → q ผล p ผล r → t ขอใดตอไปนีถ้ ูก 1) ก. และ ข. สมเหตุสมผล 2) ก. สมเหตุสมผล และ ข. ไมสมเหตุสมผล *3) ก. ไมสมเหตุสมผล และ ข. สมเหตุสมผล 4) ก. ไมสมเหตุสมผล และ ข ไมสมเหตุสมผล 25. พิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้ เมื่อ p, q และ r เปนประพจน ก. เหตุ 1. p ∨ (p ∧ ∼q) ข. เหตุ 1. ∼p → r 2. p → q 2. ∼r ∨ s 3. ∼s ผล q ผล p ขอใดตอไปนีถ้ ูก *1) ก. และ ข. สมเหตุสมผล 2) ก. สมเหตุสมผล และ ข. ไมสมเหตุสมผล 3) ก. ไมสมเหตุสมผล และ ข. สมเหตุสมผล 4) ก. ไมสมเหตุสมผล และ ข ไมสมเหตุสมผล
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (59)
26. กําหนดให p, q, r และ s เปนประพจน ในการอางเหตุผล ถา “เหตุ” คือ 1. (p ∨ q) → (r ∧ s) 2. r → ∼s แลว ประพจนในขอใดตอไปนี้เปน “ผล” ที่ทําใหการอางเหตุผลมีความสมเหตุสมผล 1) p 2) q *3) ∼p ∧ ∼q 4) ∼p ∧ q 27. กําหนด เหตุ 1. A ↔ ∼B 2. ∼A → (C → ∼B) 3. (∼D ∨ ∼C) → ∼(∼B) 4. ∼D ผลในขอใดตอไปนี้ไดจากการสรุปที่สมเหตุสมผลจากเหตุที่กําหนดใหทั้งสี่ขอ 1) A 2) ∼B *3) ∼C 4) D 28. กําหนดเหตุใหดังตอไปนี้ 1) เอกภพสัมพัทธไมเปนเซตวาง 2) ∀x[P(x) → Q(x)] 3) ∀x[Q(x) ∨ R(x)] 4) ∃x[∼R(x)] 29. ขอความในขอใดตอไปนี้เปนผลที่ทําใหการอางเหตุผล สมเหตุสมผล 1) ∃x[P(x)] 2) ∃x[Q(x)] 3) ∀x[P(x)] *4) ∀x[Q(x)]
คณิตศาสตร (60)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ระบบจํานวนจริง โครงสรางของระบบจํานวนจริง จํานวนตรรกยะ (Q) จํานวนเต็ม เชน ..., -2, -1, 0, 1, 2, ... เศษสวน เชน 12 , 54 ทศนิยมรูจบ เชน 0.3, 0.123 ทศนิยมซ้ํา เชน 0.1& , 0.2&3& , 0.325&
จํานวนจริง (R)
จํานวนอตรรกยะ (Q′) ทศนิยมไมรูจบแบบไมซ้ํา เชน 0.1637... n A เชน 2 , 5 , 3 7 , 4 11 , 5 25 ♥ 49 , 3 343 , 4 2401 ไมใชจํานวนอตรรกยะ π = 3.14159... ≈ 3.1416 ≈ 22 7 e = 2.718... ≈ 2.718
สมบัติของระบบจํานวนจริง ให a, b, c ∈ R สมบัติ ปด การสลับที่ การเปลี่ยนหมู การมีเอกลักษณ การมีอินเวอรส
การแจกแจง
การบวก
1. 2. 3. 4.
การคูณ
a+b∈R a+b=b+a (a + b) + c = a + (b + c) มีจํานวนจริง 0 ซึ่ง 0+a=a=a+0 5. สําหรับ a จะมีจํานวนจริง -a โดยที่ (-a) + a = 0 = a + (-a) เรียก -a วาอินเวอรสการบวกของ a 11. a(b + c) = ab + ac
6. 7. 8. 9.
ab ∈ R ab = ba (ab)c = a(bc) มีจํานวนจริง 1, 1 ≠ 0 ซึ่ง 1 ⋅ a = a = a ⋅ 1 10. สําหรับ a ที่ไมเปน 0 จะมีจํานวนจริง a-1 โดยที่ a-1 ⋅ a = 1 = a ⋅ a-1 เรียก a-1 วาอินเวอรสการคูณของ a
การแกสมการพหุนามตัวแปรเดียว เราสามารถหาคําตอบของสมการพหุนามตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบ หรือสูตรตางๆ ของการ แยกตัวประกอบ
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (61)
สูตรการแยกตัวประกอบของพหุนาม ผลตางกําลังสอง A2 - B2 = (A + B)(A - B) 2 2 กําลังสองสมบูรณ A + 2AB + B = (A + B)2 A2 - 2AB + B2 = (A - B)2 ผลตางกําลังสาม A3 - B3 = (A - B)(A2 + AB + B2) ผลบวกกําลังสาม A3 + B3 = (A + B)(A2 - AB + B2) กําลังสามสมบูรณ A3 + 3A2B + 3AB2 + B3 = (A + B)3 A3 - 3A2B + 3AB2 - B3 = (A - B)3 การแกสมการกําลังสอง 1. แยกตัวประกอบพหุนาม 2. ใชสูตร ถา ax2 + bx + c = 0 โดยที่ a, b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ แลว b 2 - 4ac x = -b ± 2a ถา b2 - 4ac > 0 แลว คําตอบของสมการมี 2 คําตอบ ถา b2 - 4ac = 0 แลว คําตอบของสมการมี 1 คําตอบ ถา b2 - 4ac < 0 แลว ไมมีคําตอบสมการในระบบจํานวนจริง การแกสมการพหุนามโดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือ ทฤษฎีบทเศษเหลือ (remainder theorem) เมื่อ p(x) คือ พหุนาม anxn + an-1xn-1 + ... + a1x + a0 โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก an, a n-1, ..., a1, a0 เปนจํานวนจริง ซึ่ง an ≠ 0 ถาหารพหุนาม p(x) ดวย x - c เมื่อ c เปนจํานวนจริง เศษเหลือจะเทากับ p(c)
นั่นคือ แทนคา x = c ลงใน p(x) จะได p(c) เปนเศษ ทฤษฎีบทตัวประกอบ (factor theorem) เมื่อ p(x) คือ พหุนาม anxn + an-1xn-1 + ... + a1x + a0 โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก an, a n-1, ..., a1, a0 เปนจํานวนจริง ซึ่ง an ≠ 0 พหุนาม p(x) จะมี x - c เปนตัวประกอบก็ตอเมื่อ p(c) = 0
นั่นคือ 1. สําหรับพหุนาม p(x) ถา x - c เปนตัวประกอบแลวจะได p(c) = 0 2. สําหรับพหุนาม p(x) ถา p(c) = 0 แลว x - c จะเปนตัวประกอบของ p(x)
คณิตศาสตร (62)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
การหารสังเคราะห (Synthetic Division) ตัวอยาง จงหาผลหารและเศษจากการหารพหุนาม 2x3 + 3x2 - 5x + 4 ดวย x + 3 วิธีทํา ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ทฤษฎีบทตัวประกอบจํานวนตรรกยะ (Factor Theorem) เมื่อ p(x) คือ พหุนามในรูป anxn + an-1xn-1 + ... + a1x + a0 โดยที่ n เปนจํานวนเต็มบวก an, a n-1, ..., a1, a0 เปนจํานวนจริง ซึ่ง an ≠ 0 ถา x - mk เปนตัวประกอบของพหุนาม p(x) โดยที่ m และ k เปนจํานวนเต็มซึ่ง m ≠ 0 และ ห.ร.ม. ของ m และ k เปน 1 แลว m หาร an ลงตัว และ k หาร a0 ลงตัว สมบัติของการไมเทากัน ถา a และ b เปนจํานวนจริงแลว a = b, a < b และ a > b จะเปนจริงเพียงอยางใดอยางหนึ่ง เทานั้น เรียกวา “สมบัติไตรวิภาค” ทฤษฎีบท กําหนดให a, b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ 1. ถา a > b และ b > c แลว a > c 2. ถา a > b แลว a + c > b + c 3. ถา a > b และ c > 0 แลว ac > bc และถา a > b และ c < 0 แลว ac < bc 4. ถา ac > bc และ c > 0 แลว a > b และถา ac > bc และ c < 0 แลว a < b 5. ถา a < 0 และ b < 0 แลว ab > 0 6. ถา a < 0 และ b > 0 แลว ab < 0 7. ถา a > 0 และ b < 0 แลว ab < 0 8. ถา a < b < c แลว a < b และ b < c หลักการแกอสมการ 1. จัดดานขวามือของอสมการใหเปนศูนย 2. แยกตัวประกอบของพหุนาม เชน (ax - b)(cx - d) > 0 ∗ ถาอสมการอยูในรูปเศษสวน ตองระวังไวเสมอวา ตัวสวนตองไมเปนศูนย 3. ใหตัวประกอบแตละตัว เทากับ 0 แลวแกสมการหาคา x จากนั้นจึงนําคา x ที่ไดไปเขียนบนเสนจํานวน ซึ่งคา x ที่ไดจะแบงเสนจํานวนเปนชวงๆ 4. พิจารณาเครื่องหมายของพหุนามในแตละชวง สวนใหญเครื่องหมายบวก ลบ จะสลับกันไป 5. จากนั้นพิจารณาชวงคําตอบ ถาอสมการมีเครื่องหมายเปน “>” ใหตอบชวงที่เปน บวก ถาอสมการมีเครื่องหมายเปน “<” ใหตอบชวงที่เปน บวก 6. กรณีที่วงเล็บใดไมสามารถแยกตัวประกอบได ใหคงไวอยางนั้น แลวคิดเครื่องหมายไดเลย เชน (x2 + 4) (2x + 1)(3x - 2) ≤ 0 โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (63)
การแกสมการและอสมการในรูปคาสัมบูรณ คาสัมบูรณของจํานวนจริง a เขียนแทนดวย |a| หมายถึง ระยะจากจุด 0 ถึงจุด a บนเสนจํานวน บทนิยาม ให x เปนจํานวนจริง
x;x>0 |x| = 0 ; x = 0 -x ; x < 0
ทฤษฎีบทของคาสัมบูรณ เมื่อ x และ y เปนจํานวนจริง 1. |x| ≥ 0 2. |x| = |-x| 3. |x ⋅ y| = |x| ⋅ |y| = ||xy|| 4. xy
5. 6. 7. 8. 9.
|x - y| |x|2 x2 |x + y| |x - y|
= = =
|y - x| x2 |x| ≤ |x| + |y| ≥ |x| - |y|
การแกสมการในรูปคาสัมบูรณ 1. ถา |f(x)| = 0 แลว f(x) = 0 2. ถา |f(x)| = a และ a ≥ 0 แลว f(x) = a หรือ f(x) = -a 3. ถา |f(x)| = a และ a < 0 แลว x ∈ ∅ 4. ถา |f(x)| = |g(x)| แลว f(x) = g(x) หรือ f(x) = -g(x) 5. ถา |f(x)| = g(x) แลว f(x) = g(x) หรือ f(x) = -g(x) โดยที่ g(x) ≥ 0 6. ถา |P(x)| = P(x) แลว P(x) ≥ 0 ถา |P(x)| = - P(x) แลว P(x) ≤ 0 7. ถา |P(x)| + |Q(x)| = |P(x) + Q(x)| แลว P(x) ⋅ Q(x) ≥ 0 ถา |P(x)| - |Q(x)| = |P(x) - Q(x)| แลว P(x) ⋅ Q(x) ≥ 0 ∧ P(x) ≥ Q(x) การแกอสมการในรูปคาสัมบูรณ 1. |x| ≤ ∆ ก็ตอเมื่อ -∆ ≤ x ≤ ∆ |x| < ∆ ก็ตอเมื่อ -∆ < x < ∆ 2. |x| ≥ ∆ ก็ตอเมื่อ x ≤ -∆ หรือ x ≥ ∆ |x| > ∆ ก็ตอเมื่อ x < -∆ หรือ x > ∆ 3. |P(x)| < |Q(x)| ก็ตอเมื่อ (P(x) + Q(x)) ⋅ (P(x) - Q(x)) < 0 คณิตศาสตร (64)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
แบบทดสอบ 1. ให a เปนจํานวนเต็ม ถา x - a หาร x3 + 2x2 - 5x - 2 เหลือเศษ 4 แลว ผลบวกของคา a ทั้งหมดที่ สอดคลองเงื่อนไขดังกลาว เทากับขอใดตอไปนี้ 1) -6 *2) -2 3) 2 4) 6 2. กําหนดให x + 1 และ x - 1 เปนตัวประกอบของพหุนาม P(x) = 3x3 + x2 - ax + b เมื่อ a, b เปนคาคงตัว เศษเหลือที่ไดจากการหาร P(x) ดวย x - a - b เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 15 2) 17 3) 19 *4) 21 3. กําหนดให f(x) = x3 + kx2 + mx + 4 เมื่อ k และ m เปนคาคงตัว ถา x - 2 เปนตัวประกอบหนึ่งของ f(x) และเมื่อนํา x + 1 ไปหาร f(x) ไดเศษเหลือ 3 แลวคาสัมบูรณของ k + m เทากับ เทาใด (ตอบ 4) 4. กําหนดให k และ l เปนจํานวนเต็ม ซึ่งเมื่อหาร x3 - 6x2 + (k + l)x + 2 ดวย x - 2 แลวเหลือเศษเปน -4 ถา k : l = 3 : 2 แลว ผลหารของการหาร 6x3 + 2x2 + 8x + 1 ดวย kx - l มีคาเปนเทาใด (ตอบ 9) 5. ให P(x) = x3 + ax2 + bx + 10 เมื่อ a, b เปนจํานวนเต็ม และ Q(x) = x2 + 9 ถา Q(x) หาร P(x) เหลือ เศษ 1 แลว P(a) + P(b) มีคาเทาใด (ตอบ 922) 6. ให p(x) เปนพหุนาม ถาหาร p(x) ดวย x - 1 จะเหลือเศษ 3 และ ถาหาร p(x) ดวย x - 3 จะเหลือเศษ 5 ถา r(x) = ax + b คือ เศษที่เกิดจากการหาร p(x) ดวย (x - 1)(x - 3) แลว 3a + 2b เทากับเทาใด (ตอบ 7) 7. ให a และ b เปนจํานวนจริงที่ทําให x2 + ax + b หาร x3 - 3x2 + 5x + 7 มีเศษเทากับ 10 คา a + b เทากับขอใดตอไปนี้ *1) 1 2) 2 3) 3 4) 4 8. กําหนดให S = {x ||x|3 = 1} เซตในขอใดตอไปนี้เทากับเซต S 1) {x | x3 = 1} *2) {x | x2 = 1} 3) {x | x3 = -1} 4) {x | x4 = x} 9. กําหนดให S เปนเซตคําตอบของสมการ 2x3 - 7x2 + 7x - 2 = 0 ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดของ S เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 2.1 2) 2.2 3) 3.3 *4) 3.5 10. ถา a, b และ c เปนคําตอบทั้ง 3 คําตอบของสมการ x3 - 8x2 + 5x + 7 = 0 แลวคาของ a2 + b2 + c2 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 39 *2) 54 3) 63 4) 74 11. กําหนดให A = {x ||x - 1| ≤ 3 - x} และ a เปนสมาชิกคามากที่สุดของ A คาของ a อยูในชวงใด ตอไปนี้ 1) (0, 0.5] 2) (0.5, 1] 3) (1, 1.5] *4) (1.5, 2]
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (65)
12. กําหนดให A เปนเซตคําตอบของสมการ x3 + x2 - 27x - 27 = 0 และ B เปนเซตคําตอบของสมการ x3 + (1 - 3 )x2 - (36 + 3 )x - 36 = 0 A I B เปนสับเซตของชวงในขอใดตอไปนี้ *1) [-3 5 , -0.9] 2) [1.1, 0] 3) [0, 3 5 ] 4) [1, 5 3 ] 13. กําหนดให A = {x | (2x + 1)(x - 1) < 2} และ B = {x | 16 - 9x2 > 0} เซต A I B เปนสับเซตของ ชวงในขอใดตอไปนี้ *2) -1, 53 3) -34 , 54 4) -53 , 1 1) -23 , 73
14. กําหนดให S = x 2 x ≥ x + 2 ชวงในขอใดตอไปนี้เปนสับเซตของ S 2 x - 3x + 2 x - 1 *2) (-1, 0, 5) 3) (-0.5, 2) 4) (1, ∞) 1) (-∞, -3) - 1) ≥ 0 15. กําหนดให A เปนเซตคําตอบของอสมการ (2x +2 1)(x -x และ B เปนเซตคําตอบของอสมการ 2x2 - 7x + 3 < 0 ถา A I B = [c, d) แลว 6c - d เทากับขอใดตอไปนี้ *1) 4 2) 5 3) 6 4) 7 16. กําหนดให A = {x | (x2 - 1)(x2 - 3) ≤ 15 } ถา a เปนสมาชิกคานอยสุดในเซต A และ b เปนสมาชิก คามากสุดในเซต A แลว (b - a)2 เทากับขอใดตอไปนี้ *1) 24 2) 16 3) 8 4) 4 4 2 17. กําหนดให S เปนเซตคําตอบของอสมการ x 2- 13x + 36 ≥ 0 ถา a เปนจํานวนที่มีคานอยที่สุดในเซต x + 5x + 6 S I (2, ∞) และ b เปนจํานวนลบที่มีคามากที่สุด ซึ่ง b ∉ S แลว a2 - b2 เทากับขอใดตอไปนี้ 1) -9 2) -5 *3) 5 4) 9 18. กําหนดให A เปนเซตคําตอบของสมการ |(2x - 1)(x + 3) | = |(x + 7)(3 - 4x) | ผลบวกของสมาชิก ทั้งหมดของ A เทากับขอใดตอไปนี้ 3) 15 4) 15 *1) -15 2) - 15 2 2
19. กําหนดให I เปนเซตของจํานวนเต็ม ถา S = {x | 2x2 - 9x - 26 ≤ 0 และ |1 - 2x| ≥ 0} แลว ผลบวก ของสมาชิกของ S เทากับเทาใด (ตอบ 17) 20. เซตคําตอบของอสมการ |3x - 1| | (2x + 1) < 1 และ 5x < 1 เทากับขอใดตอไปนี้ 2) -∞, -12 U 0, 51 1) -∞, -13 U 0, 51 *4) -∞, -61 U 0, 51 6 5 21. ถาเซตคําตอบของอสมการ |x2 + x - 2| < (x + 2) คือชวง (a, b) แลว a + b มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 2)
3) (-∞, 0)
U 1, 1
คณิตศาสตร (66)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
22. กําหนดให A เปนเซตคําตอบของอสมการ |x2 + x - 2| ≤ |x2 - 4x + 3| และ B = A - {1} ถา a เปนสมาชิกของ B ซึ่ง a - b ≥ 0 ทุก b ∈ B แลว พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. 34 a เปนจํานวนคู ข. 5a เปนจํานวนคู ขอใดตอไปนี้ถูก 1) ก. และ ข. ถูก *2) ก. ผิด และ ข. ถูก 3) ก. ถูก และ ข. ผิด 4) ก. และ ข. ผิด 23. กําหนดให A = {x|x2 + 2x - 3 < 0} และ B = {x|x + 1 ≥ 2|x|} ถา A - B = (a, b) แลว 3|a + b| มีคาเทาใด (ตอบ 10) 24. กําหนดให U เปนเซตคําตอบของอสมการ ||x + 1| + 2 | ⋅ ||x + 1| - 2 | ≤ 25 ประโยคในขอใดตอไปนี้มี คาความจริงเปนจริง 1) ∃x∃y[x + y = 14] 2) ∃x∃y[x + y = 11] *3) ∃x∃y[x + y = -11] 4) ∃x∃y[x + y = -14] 25. ถา A = {(x, y) ∈ R × R ||x + y| ≥ |x| + |y|} แลว A คือเซตในขอใดตอไปนี้ 1) A = {(x, y) ∈ R × R | x = 0 หรือ y = 0} 2) A = {(x, y) ∈ R × R | x ≥ 0 หรือ y ≥ 0} 3) A = {(x, y) ∈ R × R | xy ≤ 0} *4) A = {(x, y) ∈ R × R | xy ≥ 0} 26. ถา A = { x ∈ R+ | 3|x + 2| ≤ |2x2 + x|} แลวสมาชิกของ A ที่มีคานอยที่สุดเทากับคาในขอใดตอไปนี้ *2) 132 + 1 3) 13 - 1 4) 13 + 1 1) 132 - 1 27. กําหนดให P(x) และ Q(x) เปนพหุนามดีกรี 2551 ซึ่งสอดคลองกับ P(n) = Q(n) สําหรับ n = 1, 2, 3, ..., 2551 และ P(2552) = Q(2552) + 1 คาของ P(0) - Q(0) เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 0 2) 1 *3) -1 4) หาคาไมไดเพราะขอมูลไมเพียงพอ
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (67)
ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน นิยามการหารลงตัว ให a และ b เปนจํานวนเต็มโดยที่ b ≠ 0 b หาร a ลงตัวก็ตอเมื่อ มีจํานวนเต็ม c ที่ทําให a = bc เรียก b วา ตัวหาร (Divisor) ของ a และเรียก a วา พหุคูณ (Multiple) ของ b b | a แทน “b หาร a ลงตัว” และ b | a แทน “b หาร a ไมลงตัว” สมบัติการหารลงตัว ♥ ถา a, b และ c เปนจํานวนเต็มโดยที่ b และ c ไมเทากับศูนย แลว a | b และ b | c แลว a | c ♥ ถา a | b และ c | d แลว ac | bd ♥ ถา a และ b เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง a | b และ b ≠ 0 แลว a ≤ b ♥ ถา a, b และ c เปนจํานวนเต็ม ซึ่ง a | b และ a | c จะได a | (bx + cy) โดย x, y ∈ I และเรียก bx + cy วา “ผลรวมเชิงเสน” ตัวอยางที่ 1 กําหนด a, b และ c เปนจํานวนเต็มใดๆ ที่ไมเปนศูนย ถา a | (b + c) แลวขอใดตอไปนีถ้ ูก 1) a | b 2) a | c 3) a | (b2 + c2) 4) a | (b2 - c2) ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ตัวอยางที่ 2 ถา d เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง d | 15k + 27) และ d | (3k + 2) แลว d ตรงกับขอใดตอไปนี้ 1) 1 หรือ 17 2) 3 หรือ 11 3) 2 หรือ 13 4) 4 หรือ 19 ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................
คณิตศาสตร (68)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
จํานวนคูและจํานวนคี่ ♥ จํานวนคู เขียนแทนดวย 2n เมื่อ n เปนจํานวนเต็ม ♥ จํานวนคี่ เขียนแทนดวย 2n + 1 หรือ 2n - 1 เมือ่ n เปนจํานวนเต็ม ตัวอยางที่ 3 จงแสดงวา ถา x เปนจํานวนเต็มคี่ แลว 4 | (x2 - 1) วิธีทํา ....................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... จํานวนเฉพาะ (Prime numbers) ♥ จํานวนเต็ม p ≠ 0 จะเปนจํานวนเฉพาะ ก็ตอเมื่อ p ≠ 1, -1 และถาจํานวนเต็ม x หาร p ลงตัว แลว x ∈ {1, -1, p, -p} ♥ เรียกจํานวนเต็มที่ไมใชจํานวนเฉพาะ และไมใช -1, 0, 1 วาเปน “จํานวนประกอบ (composite numbers)” ตัวอยางที่ 4 จงหาจํานวนเต็มบวก n ทั้งหมดที่ทําให n3 - 14n2 + 64n - 93 เปนจํานวนเฉพาะ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ทฤษฎีบทหลักมูลทางเลขคณิต ♥ จํานวนเต็ม n ทุกจํานวนที่มากกวา 1 สามารถเขียนไดในรูปผลคูณของจํานวนเฉพาะไดเพียงแบบเดียว เทานั้น เชน 28 = 22 × 7 60 = 22 × 3 × 5 c c c c ♥ จํานวนตัวประกอบทั้งหมดที่เปนบวกของ n = p 1 1 ⋅ p 22 ⋅ p 33 ⋅... ⋅ p k k มีคาเทากับ
(c1 + 1)(c2 + 1)(c3 + 1) … (ck + 1) โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (69)
ตัวอยางที่ 5 จํานวนเต็มบวกทั้งหมดที่หาร 210 ลงตัว มีจํานวนเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 14 2) 15 3) 16 4) 17 ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ตัวอยางที่ 6 ถา A = {x ∈ I | x เปนจํานวนเฉพาะ และ 2x | (252 - 6x)7} แลว จํานวนสมาชิกทั้งหมดใน A เทากับขอใด 1) 1 2) 2 3) 4 4) 6 ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) ♥ กําหนดจํานวนเต็ม a, b ซึ่ง a2 + b2 ≠ 0 จํานวนเต็มบวก d จะเปนตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) ของ a และ b ก็ตอเมื่อ
1) d | a และ d | b 2) ถา c เปนจํานวนเต็ม ซึ่ง c | a และ c | b จะไดวา c | d ♥ ♥ ♥
d = (a, b) = ห.ร.ม. ของ a และ b เราสามารถเขียน d ในรูปของผลรวมเชิงเสนของ a และ b คือ d = am + bn เมื่อ m, n ∈ I ถา (a, b) = 1 เราเรียก a, b วาเปน “ จํานวนเฉพาะสัมพัทธ (Relative primes) ”
ตัวอยางที่ 7 ถา a เปน ห.ร.ม. ของ 403 และ 465 และ b เปน ห.ร.ม. ของ 431 และ 465 แลว a - b มีคา เทาใด ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ตัวอยางที่ 8 จํานวนเต็มทั้งหมดตั้งแต 0 ถึง 100 ที่ไมเปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธกับ 15 มีทั้งหมดกี่จํานวน ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................
คณิตศาสตร (70)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ขั้นตอนวิธีการหาร ให m และ n เปนจํานวนเต็ม ซึ่ง n ≠ 0 แลว จะมีจํานวนเต็ม q และ r ชุดเดียว ซึ่ง m = nq + r โดยที่ 0 ≤ r < | n | เรียก q วา ผลหาร และ r วา เศษเหลือ ตัวอยางที่ 9 กําหนดให n เปนจํานวนนับใดๆ และ r เปนเศษเหลือจากการหาร n2 ดวย 11 จํานวนในขอใด ตอไปนี้เปนคาของ r ไมได 1) 1 2) 3 3) 5 4) 7 ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ตัวอยางที่ 10 กําหนดให n เปนจํานวนเต็มที่มีคามากที่สุด ซึ่งมีสมบัติวา n หาร 551 และ 731 เหลือเศษ r เทากัน และ n หาร 1093 เหลือเศษ r + 2 แลว r -n 1 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1 1 1 1 2) 18 3) 19 4) 20 1) 17 ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ขั้นตอนวิธียุคลิด กําหนดจํานวนเต็มบวก a และ b จากการนําขั้นตอนการหารมาใชซ้ําๆ กัน จะไดสมการ 0 < r1 < a ...(1) b = (a ⋅ q1) + r1 0 < r2 < r1 ...(2) a = (r1 ⋅ q2) + r2 0 < r3 < r2 ...(3) r1 = (r2 ⋅ q3) + r3 M
rn-2 = (rn-1 ⋅ qn) + rn rn-1 = (rn ⋅ qn+1) + 0
M
0 < rn < rn-1 0 < r1 < a
...(n) ...(n + 1)
rn = (a, b) = ห.ร.ม. ตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) ♥ ให m และ n เปนจํานวนเต็มที่ไมเปนศูนย c จะเปนตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) ของ m และ n ก็ตอเมื่อ 1. m | c และ n | c 2. ถา a เปนจํานวนเต็ม ซึ่ง m | a และ n | จะได c | a ♥ ♥
c = [ m, n ] = ค.ร.น. ของ m, n ถา d และ c เปน ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ที่เปนบวกของจํานวนเต็ม m, n ตามลําดับ จะไดวา dc = mn โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (71)
แบบทดสอบ 1. ถา d เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง d | (20k + 36) และ d | (4k + 3) แลว d ตรงกับขอใดตอไปนี้ 1) 1 หรือ 11 *2) 3 หรือ 5 3) 2 หรือ 11 4) 4 หรือ 5 2. ให a, b และ c เปนจํานวนเต็ม จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ถา a | bc แลว a | b หรือ a | c ข. ถา a | b และ b | c แลว a | (c - b) ขอใดตอไปนี้ถูก 1) ถูกทั้ง ก. และ ข. 2) ถูกเฉพาะขอ ก. *3) ถูกเฉพาะขอ ข. 4) ผิดทั้ง ก. และ ข. 3. กําหนดให a, b และ c เปนจํานวนเต็ม ขอใดตอไปนี้เปนจริง 1) ถา a | (b + c) แลว a | b หรือ a | c 2) ถา a | bc แลว a | b หรือ a | c *3) ถา a | (2a - 3b) และ a | (4a - 5b) แลว a | b 4) ถา a | c และ b | c จะได ab | c 4. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. 3 | (a4 + 2a3 - a2 - 2a) ทุกจํานวนเต็ม a ข. {x ∈ I- | 6x3 + 17x2 + 14x + 3 ≥ 0} มีสมาชิกเพียงตัวเดียว ขอใดตอไปนี้ถูกตอง *1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 5. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ถา a, b และ c เปนจํานวนเต็มซึ่ง a | (2b - c) และ a2 | (b + c) แลว a | 3c 3 2 +2 ข. ถา A = x ∈ R x -x2x - 2 < 1 และ B = {x ∈ R | x - 2x < 0} แลว A = B
ขอใดตอไปนีถ้ ูก 1) ก. และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 6. ถา A = {p | p เปนจํานวนเฉพาะบวก และ p | (980 - p)3} แลว ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดใน A เทากับ ขอใด 1) 10 2) 12 *3) 14 4) 16 7. กําหนด a เปนจํานวนเต็มใดๆ จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. (a2 + a) เปนจํานวนคี่ ข. (a2 - a) เปนจํานวนคู ขอใดกลาวถูกตอง 1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด *3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด
คณิตศาสตร (72)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
8. ขอความใดตอไปนีผ้ ิด 1) ถา a และ b เปนจํานวนคูแลว (a - b)2 เปนจํานวนคู 2) ถา b | a และ |a| < |b| แลว a = 0 *3) ห.ร.ม. ของ 364 และ 1012 คือ 2 4) ถา a เปนจํานวนคี่ และ b เปนจํานวนคูแลว a2 + 2b เปนจํานวนคี่ 9. กําหนดให a เปนคําตอบของ 2 ⋅ 3 + 3 ⋅ 4 + 4 ⋅ 5 + 5 ⋅ 6 และ b เปนคําตอบของ 4 ⋅ 6 + 6 ⋅ 8 + 8 ⋅ 10 + 10 ⋅ 12 แลว (a, b) มีคาตรงกับขอใดตอไปนี้ 1) 70 *2) 68 3) 66 4) 64 10. กําหนดให a และ b เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง (a, b) = c แลว ห.ร.ม. ของ 2a และ 2b ตรงกับขอใดตอไปนี้ 1) c *2) 2c 3) 4c 4) 8c 11. กําหนดให a, b และ c เปนจํานวนเต็มบวกใดๆ พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ถา a | b และ b | c แลว a | c ข. ถา a | b แลว ห.ร.ม. ของ a กับ b คือ a ขอใดตอไปนีถ้ ูก *1) ถูกทั้ง ก. และ ข. 2) ถูกเฉพาะขอ ก. 3) ถูกเฉพาะขอ ข. 4) ผิดทั้ง ก. และ ข. 12. กําหนดให x และ y เปนจํานวนเต็มบวก โดยที่ x < y ห.ร.ม. ของ x, y เทากับ 9 ค.ร.น. ของ x, y เทากับ 28215 และจํานวนเฉพาะที่แตกตางกันทั้งหมดที่หาร x ลงตัว มี 3 จํานวน คาของ y - x เทากับ ขอใดตอไปนี้ 1) 36 2) 45 3) 9 *4) 18 13. ให x และ y เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง 80 < x < 200 และ x = pq เมื่อ p และ q เปนจํานวนเฉพาะ ซึ่ง p ≠ q ถา x และ y เปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธ และ ค.ร.น. ของ x, y เทากับ 15015 แลว ผลบวก ของคาของ y ทั้งหมดที่สอดคลองเงื่อนไขทั้งหมดที่กําหนดใหเทากับเทาใด (ตอบ 270) 14. ถา 1 = ax + by โดย a, x, b, y เปนจํานวนเต็ม จงหา ห.ร.ม. ของ x, y (ตอบ 1) 15. ให a เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง 3 | a และ 5 | a หา ห.ร.ม. ของ a และ 7 เทากับ 1 แลว ห.ร.ม. ของ a และ 105 เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 5 *2) 15 3) 35 4) 105 16. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธคือ {x | x เปนจํานวนเต็มที่ไมใช 0 และ -100 ≤ x ≤ 100} ให A = {x | ห.ร.ม. ของ x กับ 21 เปน 3} จํานวนสมาชิกของ A เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 29 2) 34 3) 68 *4) 58 17. สําหรับจํานวนเต็ม a, b ใดๆ ให (a, b) = ห.ร.ม. ของ a และ b ให A = {1, 2, 3, ..., 400} จํานวน สมาชิกของเซต {x ∈ A | (x, 40) = 5} มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 30 *2) 40 3) 60 4) 80
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (73)
18. ถา a เปน ห.ร.ม. ของ 403 และ 465 และ b เปน ห.ร.ม. ของ 431 และ 465 แลว a - b มีคาเทาใด (ตอบ 30) 19. กําหนดให n เปนจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยที่สุด ซึ่งหารดวย 7 แลวมีเศษเหลือเทากับ 4 ถา 9 และ 11 ตาง ก็หาร (n - 2) ลงตัวแลว n คือจํานวนใด 20. กําหนด a, b, n, r เปนจํานวนเต็มใดๆ จงพิจารณาขอความตอไปนี้ a = b(n) + r b = r(2) + 70 r = 70(1) + 21 70 = 21(3) + 7 21 = 7(3) + 0 ขอใดตอไปนี้ผิด 1) (a, b) = (70, 21) *2) (b, n) = 3 3) (r, 70) = (70, 21) 4) (a, b) = 7 21. ถา a, b, q1, q2 เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง a = bq1 + 231 b = 231q2 + 126 แลว ห.ร.ม. ของ a, b เทากับเทาใด (ตอบ 21) 22. กําหนดให a และ b เปนจํานวนเต็มบวก ถา b หาร a ไดผลลัพธ 1 เหลือเศษ 24 โดยที่ 24 < b, 24 หาร b ไดผลลัพธ 1 เศษ 12 แลว ห.ร.ม. ของ a และ b เทากับจํานวนในขอใดตอไปนี้ 1) 1 2) 2 3) 6 *4) 12 23. ให n ∈ I+ ซึ่ง ห.ร.ม. ของ n และ 42 เทากับ 6 ถา 42 = n q0 + r0 , 0 < r0 < n n = 2 r0 + r1 , 0 < r1 < r0 และ r0 = 2 r1 โดยที่ q0, r0, r1 เปนจํานวนเต็ม แลว ค.ร.น. ของ n และ 42 มีคาเทากับเทาไร (ตอบ 210) 24. กําหนดให a, b เปนจํานวนเต็ม ซึ่ง a เปน ห.ร.ม. ของ b และ 216 ให q1, q2 เปนจํานวนเต็มบวกโดยที่ 216 = bq1 + 106 b = 106q2 + 4 ถา f(x) = x3 + ax2 + bx - 36 แลว เมื่อหาร f(x) ดวย x - a ไดเศษเทากับเทาใด 1) 192 *2) 200 3) 236 4) 272 25. ในระบบจํานวนเต็ม ให a และ b > 0 a = 1998 b + r , 0 < r < 1998 1998 = 47 r + r1 , 0 < r1 < r และ (r, r1) = 6 ขอความใดตอไปนีถ้ ูกตอง 1) (a, b) = 6 *2) (a, 1998) = 6 3) (b, r) = 6 4) (1998, r) > 6 คณิตศาสตร (74)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
26. เมื่อหารจํานวนเต็มบวก x ดวย 6 มีเศษเหลือเปน 4 จงหาเศษเหลือ เมื่อหาร 4x ดวย 3 (ตอบ 1) 27. ถา n เปนจํานวนเต็มบวกที่มากที่สุดซึ่งหาร 90 เหลือเศษ 6 และหาร 150 เหลือเศษ 3 แลว n หาร 41 เหลือเศษเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 5 2) 6 3) 18 *4) 20 28. ขอความในขอใดตอไปนีผ้ ิด 1) ถา a, b, n เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง n | a และ n | b แลวจะไดวา n หาร ห.ร.ม. ของ a, b ลงตัวดวย 2) ถา a, b, n เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง a | n และ b | n แลวจะไดวา ค.ร.น. ของ a, b หาร n ลงตัวดวย *3) ถา a, m, n เปนจํานวนเต็มบวก และ a | mn แลวจะไดวา a | m และ a | n 4) ถา d และ c เปน ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนเต็มบวก m, n แลวจะไดวา dc = mn 29. ให a เปนจํานวนคูบวก และ b เปนจํานวนคี่บวก ขอใดตอไปนี้ถูก 1) a และ b เปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธ 2) a + b เปนจํานวนเฉพาะ 3) ห.ร.ม. ของ a และ b เทากับ ห.ร.ม. ของ a และ 2b *4) ค.ร.น. ของ a และ b เทากับ ค.ร.น. ของ a และ 2b 30. กําหนดให m เปนจํานวนเต็มบวก และ n เปนจํานวนเฉพาะ ถา m หาร 777 และ 910 แลวเหลือเศษ n แลว m – n มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 2) 31. ถา n เปนจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยสุด ซึ่ง 3 | (n - 2) และ 7 | (n - 6) แลว ห.ร.ม. ของ n และ (n + 4) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 3 *2) 4 3) 5 4) 7 32. ให m และ n เปนจํานวนเต็มบวก ถา 5 หาร m เหลือเศษ 4 และ 5 หาร n เหลือเศษ 2 แลว 5 หาร (m + n) เหลือเศษเทากับขอใดตอไปนี้ *1) 1 2) 2 3) 3 4) 4 33. ถา S เปนเซตของจํานวนเต็ม m ที่มีสมบัติดังนี้ 50 ≤ m ≤ 100 และ 7 หาร m3 เหลือเศษ 6 แลว จํานวนสมาชิกของ S เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 7 2) 14 3) 18 *4) 21 34. ถา n เปนจํานวนเต็มบวกซึ่งมีสมบัติดังนี้ 100 ≤ n ≤ 1000, 45 และ 75 หาร n ลงตัว, 7 หาร n เหลือเศษ 3 แลว n มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 675) 35. กําหนดให n เปนจํานวนนับใดๆ และ r เปนเศษที่เหลือจากการหาร n2 ดวย 11 จํานวนในขอใดตอไปนี้เปน คาของ r ไมได 1) 1 2) 3 3) 5 *4) 7 36. กําหนดให n เปน ห.ร.ม. ของ 14097 และ 14351 จํานวนในขอใดตอไปนี้หารดวย n แลวไดเศษเหลือเปน จํานวนเฉพาะ 1) 135 *2) 144 3) 153 4) 162
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (75)
ความสัมพันธและฟงกชัน ผลคูณคารทีเซียน (Cartesian product) A × B = {(x, y) | x ∈ A และ y ∈ B} สมบัติของผลคูณคารทีเซียน 1. A × B = B × A ก็ตอเมื่อ A = B หรือ A = ∅ หรือ B = ∅ 2. A × ∅ = ∅ = ∅ × A 3. ถา A และ B เปนเซตจํากัดแลว n(A × B) = n(A) × n(B) 4. มีสมบัติการแจกแจง A × (B U C) = (A × B) U (A × C) A × (B I C) = (A × B) I (A × C) A × (B - C) = (A × B) - (A × C) ความสัมพันธ (relation) ♥ ความสัมพันธ คือ เซตที่เกิดจากสมาชิกของผลคูณคารทีเซียนที่สอดคลองกับเงื่อนไขที่กําหนด ♥ r เปนความสัมพันธจากเซต A ไปเซต B เมื่อ r ⊂ A × B ♥ r เปนความสัมพันธใน A เมื่อ r ⊂ A × A ♥ ถา (x, y) ∈ r แสดงวา x มีความสัมพันธ r กับ y เขียนแทนดวย x r y ♥ ถา (x, y) ∉ r แสดงวา x ไมมีความสัมพันธ r กับ y เขียนแทนดวย x r y ♥ จํานวนความสัมพันธที่เปนไปไดจาก A ไป B = 2n(A)×n(B) ความสัมพันธ โดเมนและเรนจของความสัมพันธ ♥ โดเมนของความสัมพันธ r (Dr) คือ เซตของสมาชิกตัวหนาของคูอันดับ Dr = {a | (a, b) ∈ r} ♥ เรนจของความสัมพันธ r (Rr) คือ เซตของสมาชิกตัวหลังของคูอันดับ Rr = {b | (a, b) ∈ r} ♥ การหา Dr และ Rr ของความสัมพันธ 1) จัดรูปสมการ หาโดเมน ⇒ จัด y ใหอยูในรูปของ x (หรือ y = ... x) หาเรนจ ⇒ จัด x ใหอยูในรูปของ y (หรือ x = ... y) 2) ตรวจสอบคา x, y โดย
ถา
∆
แลว ∆ ≠ 0
ถา = ∆ แลว ≥ 0 และ ∆ ≥ 0 หรือ ถา = - ∆ แลว ≤ 0 และ ∆ ≥ 0 ถา = | ∆ | แลว ≥ 0 และ ∆ ∈ R หรือ ถา = -|∆| แลว ≤ 0 และ ∆ ∈ R ถา = ∆2 แลว ≥ 0 และ ∆ ∈ R หรือ ถา = -∆2 แลว ≤ 0 และ ∆ ∈ R อินเวอรสของความสัมพันธ ♥ ถา r = {(a, b)} แลว r-1 = {(b, a)} ♥ D -1 = Rr และ R -1 = Dr r r คณิตศาสตร (76)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ฟงกชัน (Function) คือ ความสัมพันธที่สมาชิกในโดเมนแตละตัวจับคูกับสมาชิกในเรนจของความสัมพันธเพียงตัวเดียวเทานั้น
1
r1
r2
-1
1
2
-2
2
-2
3
-3
3
-3
-1
r1 เปนความสัมพันธที่เปนฟงกชัน r1 เปนความสัมพันธที่ไมเปนฟงกชัน นั่นคือ f จะเปนฟงกชัน ก็ตอเมื่อ f เปนความสัมพันธ ซึ่งถามี (x, y) ∈ f และ (x , z) ∈ f แลว y = z แทนฟงกชันดวยสัญลักษณ f = {(x, y) | y = f(x)} หรือ y = f(x) ฟงกชันแบบตางๆ 1. f เปนฟงกชันจาก A ไป B เมื่อ f เปนฟงกชัน ที่มี Df = A และ Rf ⊂ B แทนดวยสัญลักษณ f : A → B 2. f เปนฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B เมื่อ f เปนฟงกชัน ที่มี Df = A และ Rf = B ่วถึง onto แทนดวยสัญลักษณ f : A ทั → B หรือ f : A → B 3. f เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป B เมื่อ f เปนฟงกชันจาก A ไป B ซึ่งถา f(x1) = f(x2) แลว x1 = x2 แทนดวยสัญลักษณ f : A 1-1→ B 4. f เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B เมื่อ f เปนฟงกชัน 1 - 1 ที่มี Df = A และ Rf = B -1 1-1 แทนดวยสัญลักษณ f : A 1 → B หรือ f : A → B onto ทั่วถึง 5. f เปนฟงกชันเพิ่มใน A ก็ตอเมื่อ สําหรับ x1 และ x2 ใดๆ ใน A ถา x1 < x2 แลว f(x1) < f(x2) 6. f เปนฟงกชันลดใน A ก็ตอเมื่อ สําหรับ x1 และ x2 ใดๆ ใน A ถา x1 < x2 แลว f(x1) > f(x2) ฟงกชันประกอบ (composite function) กําหนด f และ g เปนฟงกชัน โดยที่ Rf I Dg ≠ ∅ A
f
B
C
g
D
gof
ฟงกชันคอมโพสิทของ f และ g เขียนแทนดวย gof โดยที่ (gof)(x) = g(f(x)) โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (77)
การหาคาของฟงกชันจากฟงกชันประกอบ ตัวอยางที่ 1
กําหนดให f = {(1, 3), (3, 5), (5, 1)} และ g = {(3, 1), (1, 1), (2, 5), (5, 3)} จงหา gof = .............................................................................................................................................. fog = .............................................................................................................................................. fof = .............................................................................................................................................. gog = ..............................................................................................................................................
ตัวอยางที่ 2
กําหนดให f(x) = x + 1 และ (gof)(x) = x2 + 2x + 3 จงหา g(x)
ตัวอยางที่ 3
ถา f(g(x)) = x2 และ f(x) = x – 1 จงหา g(x)
ฟงกชันอินเวอรส (Inverse Function) การหาอินเวอรสของฟงกชัน จะเหมือนกับการหาอินเวอรสของความสัมพันธ r ซึ่งมีหลักการดังนี้ กําหนด f = {(x, y) ∈ A × B | y = เทอมของ x} จะไดวา f-1 = {(x, y) ∈ B × A | y = เทอมของ x} หรือ f-1 = {(y, x) ∈ B × A | x = เทอมของ y} สมบัติของฟงกชันอินเวอรส 1. Df = R f -1 ; Rf = D f -1
2. กราฟของ f-1 จะสมมาตรกับกราฟของ f เมื่อเทียบกับเสนตรง y = x 3. (fog)-1 (x) = (g-1of-1)(x) เมื่อ f(x) และ g(x) เปนฟงกชัน 1 - 1 4. (fof-1)(x) = x 5. (f-1o f)(x) = x 6. ถา f (∆) = แลว ∆ = f-1( ) พีชคณิตของฟงกชัน (Algebra of functions) 1. f + g = {(x, y) | y = f(x) + g(x) และ Df+g = Df I Dg} 2. f - g = {(x, y) | y = f(x) - g(x) และ Df-g = Df I Dg} 3. fg = {(x, y) | y = f(x) g(x) และ Dfg = Df I Dg} f(x) และ D = D I D - {x | g(x) = 0}} 4. gf = {(x, y) | y = g(x) f/g f g คณิตศาสตร (78)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
แบบทดสอบ 1. กําหนดให S เปนเซตคําตอบของอสมการ x2 ≤ 8x + 20 ถา A = {x ∈ S | x เปนจํานวนเฉพาะบวก} และ B = {x ∈ S | x เปนจํานวนเต็มคี่} แลว (A × B) - (B × A) มีจํานวนสมาชิกเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 11 *2) 15 3) 21 4) 23 2. ให A = {0, 1, 2, 3} และ P(A) คือเพาเวอรเซตของ A ถา r เปนความสัมพันธจาก A ไปยัง P(A) กําหนดโดย r = {(a, B) | a ≥ 2, a ∉ B และ a + 1 ∉ B} แลว r มีจํานวนสมาชิกกี่จํานวน (ตอบ 12) 3. กําหนดให S = [-2, 2] และ r = {(x, y) ∈ S × S | x2 + 2y2 = 2} ชวงในขอใดตอไปนี้ไมเปนสับเซตของ Dr - Rr 1) (-1.4, -1.3) 2) (-1.3, -1.2) 3) (1.2, 1.4) *4) (1.4, 1.5) 4. กําหนดให r = {(x, y) | (x - 2)(y - 1) = 1} และ s = {(x, y) | xy2 = (y + 1)2} เซตในขอใดตอไปนี้ ไมเปนสับเซตของ Rr I Rs 2) -2, -12 *3) 12 , 2 4) (1, ∞) 1) (-∞, -1) 5. กําหนดให r = {(x, y) ∈ R × R | x2 + y2 = 16}, s = {(x, y) ∈ R × R | xy2 + x + 3y2 + 2 = 0} เซตในขอใดตอไปนี้เปนสับเซตของ Dr - Ds 1) [-4, -1] 2) [-3, 0] *3) [-2, 1] 4) [-1, 2] 6. กําหนดให A = [-2, -1] U [1, 2] และ r = {(x, y) ∈ A × A | x - y = -1} ถา a, b > 0 และ a ∈ Dr, b ∈ Rr แลว a + b เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 2.5 *2) 3 3) 3.5 4) 4 7. กําหนดให r = {(x, y) | x > 0, x ≠ y, x - 3 x = y - 3 y } สมาชิกคามากที่สุดของ Dr เทากับขอใด ตอไปนี้ 4) 98 1) 4 *2) 8 3) 94 3 3 3 3 8. กําหนดให r = {(x, y) | x ≥ y และ y2 = x2 + 2x - 3} พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. Dr = [1, ∞) ข. Rr = (-∞, ∞) ขอใดตอไปนี้ถูก 1) ก. และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 9. ถา r = {(x, y) | y ≤ x2 และ y ≥ 2x} แลวเรนจของ r-1 คือเซตในขอใดตอไปนี้ 1) [0, 2] 2) [0, 4] *3) (-∞, 0] U [2, ∞) 4. (-∞, 0] U [4, ∞)
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (79)
10. หนดให r = {(x, y) | x ∈ [-1, 1] และ y = x2} พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. r-1 = {(x, y) | x ∈ [0, 1] และ y = ± | x | } ข. กราฟของ r และกราฟของ r-1 ตัดกัน 2 จุด ขอใดตอไปนี้ถูก *1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 11. ให R เปนเซตของจํานวนจริง และ f : R → R กําหนดโดย -1 - x ; x < 0 f(1 - x) = 0 ; x = 0 1 - x ; x > 0 ถา x * y = f(y – x2) สําหรับจํานวนจริง x และ y ใดๆ แลวคาของ f(-2) * f(3) มีคาอยูในชวงใดตอไปนี้ *1) (-4, -2] 2) (-2, 2] 3) (2, 4] 4) (4, 6) 2 ; x ≤ -1 12. กําหนดให f(x) = (x - 1)2 ; -1 < x < 2 เซตคําตอบของสมการ f(|x|) - 4 = 0 เปนสับเซตของเซต (x + 1) ; x≥2 ซึ่งเปนชวงในขอใดตอไปนี้ 1) (-3, 5) 2) (-6, -1) *3) (-5, 4) 4) (1, 6) 13. กําหนดให f(x) = x - 1 เมื่อ x ∈ (-∞, -1] U [0, 1] และ g(x) = 2x เมื่อ x ∈ (-∞, 0] ขอใดตอไปนี้ถูก *1) Rg ⊂ Df 2) Rf ⊂ Dg 3) f เปนฟงกชัน 1 - 1 4) g ไมเปนฟงกชัน 1 - 1 14. ให A = {1, 2, 3, 4, 5} และ B = {a, b, c} เซต S = {f | f : A → B เปนฟงกชันทั่วถึง} มีจํานวนสมาชิก เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 12 2) 24 *3) 36 4) 39 1-1 15. กําหนดให A = {1, 2} และ B = {1, 2, 3, 4} เซต { f | f : A → B และ f(x) ≠ x ทุก x ∈ A } มีจํานวนสมาชิกเทาใด (ตอบ 7) 16. ให A = {1, 2, 3, 4} และ B = {1, 2, 3, 4, 5} ถา f เปนฟงกชันจาก A ไป B โดยที่ f(1) = 2 หรือ f(2) = m เมื่อ m เปนจํานวนคี่ แลว จํานวนของฟงกชัน f ที่มีสมบัติดังกลาวเทากับขอใด 1) 75 2) 150 *3) 425 4) 500 17. กําหนดให f(x) = x2 + x + 1 และ a, b เปนคาคงตัวโดยที่ b ≠ 0 ถา f(a + b) = f(a - b) แลว a2 อยู ในชวงใดตอไปนี้ *1) (0, 0.5) 2) (0.5, 1) 3) (1, 1.5) 4) (1.5, 2) คณิตศาสตร (80)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
18. กําหนดให n เปนจํานวนนับ ถา f : {1, 2, ..., n} → {1, 2, ..., n} เปนฟงกชัน 1 – 1 และทั่วถึง ซึ่ง สอดคลองกับเงื่อนไข f(1) + f(2) + ... + f(n) = f(1)f(2) ... f(n) แลวคามากสุดที่เปนไปไดของ f(1) - f(n) เทากับขอใดตอไปนี้ *1) 2 2) 5 3) 8 4) 11 19. ถา f(x) = 1x และ g(x) = 2f(x) แลว gof(3) + fog-1(3) มีคาเทาใด (ตอบ 7.5)
20. กําหนดให f(x) = x - 5 และ g(x) = x2 ถา a เปนจํานวนจริงซึ่ง (gof)(a) = (fog)(a) แลว (fg)(a) มีคา เทากับขอใดตอไปนี้ 1) -25 *2) -18 3) 18 4) 25 x2 , x ≥ 0 1 21. กําหนดให f(x) = 3x - 1 และ g (x) = คาของ f-1(g(2) + g(-8)) เทากับขอใดตอไปนี้ -x 2 , x < 0
2) 1 +3 2 3) 1 --3 2 4) 1 +-3 2 *1) 1 -3 2 22. กําหนดให f(x) = x2 และ g เปนฟงกชันพหุนามโดยที่ gof(x) = 3x2 + 1 ถาเซต {y | y = g-1of(x), x ∈ [-10, 10]} คือชวง [a, b] แลว 3(a + b) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 88 2) 90 *3) 98 4) 100 23. กําหนดให f(x) = 10x และ g(x) = 100 - 3x 2 จํานวนเต็มที่มีคามากที่สุดที่เปนสมาชิกของ Rgof มีคา เทาใด (ตอบ 10) 24. กําหนดฟงกชัน f และ g ดังนี้ f(2x - 1) = 4x - a, a > 0 และ g-1(x) = x + 1 ถา (fog)(a) = a2 + 20 แลว f(a) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 6 *2) 7 3) 10 4) 17 25. กําหนดให f, g เปนฟงกชัน ซึ่ง Df = [0, ∞) โดยที่ f-1(x) = x2 ; x ≥ 0 และ g-1(x) = (f(x))2 + 1 ; x ≥ 0 ถา a > 0 และ f(a) + g(a) = 19 แลว f -1 (a) + g-1 (a) เทากับขอใดตอไปนี้ *1) 273 2) 274 3) 513 4) 514 26. กําหนดให f(x) = ax2 + b และ g(x - 1) = 6x + c เมื่อ a, b, c เปนคาคงตัว ถา f(x) = g(x) เมื่อ x = 1, 2 และ (f + g)(1) = 8 แลว (fog-1)(16 ) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 2) 61 3) 10 *4) 20 1) 31 9 9 27. ให I เปนเซตของจํานวนเต็ม ถา f และ g เปนฟงกชันซึ่งกําหนดโดย f(x) = 2x และ g(x) = x - 1 ทุก x ∈ I แลวเรนจของ (fog) + f คือเซตในขอใดตอไปนี้ *1) {x ∈ I | x2 เปนจํานวนเต็มคี่} 2) {x ∈ I | x2 เปนจํานวนเต็มคู} 3) เซตของจํานวนเต็มคี่ทั้งหมด 4) เซตของจํานวนเต็มคูทั้งหมด
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (81)
x-1 ; x < 0 และ g(x) = x2 + 4x + 13 ถา a x3 - 1 ; x ≥ 0 เปนจํานวนจริงบวก ซึ่ง g(a) = 25 แลว f-1(-2a) + f-1(13a) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ *1) 0 2) 2 3) 4 4) 6 2 29. กําหนดให f และ g เปนฟงกชัน ซึ่งนิยามโดย f(x) = x + 1 และ g(x) = ax เมื่อ a ∈ (0, 1) ถา k เปน
28. กําหนดให f และ g เปนฟงกชัน ซึ่งนิยามโดย f(x) =
จํานวนจริงที่ทําให (fog)(k) = (gof)(k) แลว (fog-1) 12 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ k 1) 1 *2) 2 3) 3 4) 4 30. กําหนดให f, g เปนฟงกชันซึ่ง f(x) = (x - 1)3 + 3 และ g-1(x) = x2 - 1, x ≥ 0 ถา gof-1(a) = 0 แลว a2 อยูในเซตใดตอไปนี้ *1) [10, 40] 2) [40, 70] 3) [70, 100] 4) [100, 130] 31. กําหนดให f(x) = 3x + 5 และ h(x) = 3x2 + 3x - 1 ถา g เปนฟงกชัน ซึ่งทําให fog = h แลว g(5) มีคา เทาใด (ตอบ 28) 32. กําหนดให f(x) = -(x - 1)2 ทุก x ≤ 1 และ g(x) = 1 - x ทุก x ≤ 1 พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. f-1(x) = 1 - | x | ทุก x ≤ 0 ข. (g-1of-1) -14 = 34
ขอใดตอไปนี้ถูก 1) ก. และ ข. ถูก
2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก
4) ก. และ ข. ผิด
33. กําหนดให f และ g เปนฟงกชัน ซึ่ง f(x) < 0 ทุก x ถา (gof)(x) = 2[f(x)]2 + 2f(x) - 4 และ g-1(x) = x 3+ 1 แลว พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. gof เปนฟงกชันคงตัว ข. f(100) + g(100) = 300 ขอใดตอไปนีถ้ ูก 1) ก. และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 2 ; x ≤ -1 34. กําหนดให f(x) = (x - 1)2 ; -1 < x < 2 และ g(x) = f(x) + 2 ถา k เปนจํานวนเต็มที่นอยที่สุดที่ทําให (x + 1) ; x≥2 g(k) > 5 แลว (gof)(k) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 5 2) 6 *3) 7 4) 8
คณิตศาสตร (82)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
35. กําหนด f เปนฟงกชันจากเซต {0, 1, 2, ..., 2551} ไปยังเซตของจํานวนเต็มบวก ถา f สอดคลองทุก เงื่อนไขตอไปนี้ (1) f(2x + 1) = f(2x) (2) f(3x + 1) = f(3x) (3) f(5x + 1) = f(5x) และ (4) f(7x + 1) = f(7x) แลวเรนจของ f มีจํานวนสมาชิกมากที่สุดที่เปนไปไดกี่จํานวน (ตอบ 584)
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (83)
เมตริกซ (Matrices) A = [aij]m×n =
a a
11 21 M m1
a11 ... a1n a22 .... a2n M
mn
M
เปนเมตริกซที่มี m แถว และ n หลัก
a am2 ... a นั่นคือ A เปนเมตริกซที่มีมิติ m × n โดยที่ aij คือ สมาชิกของเมตริกซ A ที่อยูในแถวที่ i และหลักที่ j ชนิดของเมตริกซ 1. เมตริกซศูนย (zero matrix หรือ null matrix) คือ เมตริกซที่มีสมาชิกทุกตัวเปนศูนย แทนดวย 0 2. เมตริกซจัตุรัส (square matrix) คือ เมตริกซที่มีจํานวนแถวเทากับจํานวนหลัก 3. เสนทแยงมุมหลัก (main diagonal) คือ แนวที่ลากจากมุมบนซาย ทแยงมายังมุมลางขวาของ เมตริกซจัตุรัส หรือสมาชิกในตําแหนง a11, a22, a33, …, ann 4. เมตริกซหนึ่งหนวย หรือเมตริกซเอกลักษณ (Unit matrix หรือ Identity matrix ; In) 1 0 0 1 0 I2 = 0 1 I3 = 0 1 0 เชน I1 = [1]1×1 2×2 0 0 1 3×3
5. เมตริกซสามเหลี่ยม (Triangular matrix) ของแนวเสนทแยงมุมหลัก เปนศูนยทั้งหมด เชน 1 2 3 0 2 3 0 4 5 0 0 9 0 0 6 4 การเทากันของเมตริกซ 30 1 เทากัน เชน 0 = 3 0
คือ เมตริกซจัตุรัสที่มีสมาชิกที่อยูดานบน หรือดานลาง 0 0 4 0 2 6
เมตริกซจะเทากันก็ตอเมื่อมีมิติเทากัน
0 0 0 0 0 0 5 0 0
และสมาชิกในตําแหนงเดียวกันมีคา
การบวกและการลบเมตริกซ ถา A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n แลว A ± B = [aij ± bij]m×n นั่นคือ จะตองตรวจสอบกอนวาเมตริกซที่นํามาบวกหรือลบกันนั้น มีมิติเทากันหรือไม - ถาเทากันใหนําสมาชิกที่อยูในตําแหนงเดียวกันมาบวก หรือลบกัน เชน (-1) + 1 2 + 3 -1 2 1 3 0 5 + = = 0 + (-1) 1 + 2 0 1 -1 2 -1 3 (-1) - 1 2 - 3 -1 2 1 3 -2 -1 - = = 0 - (-1) 1 - 2 0 1 -1 2 1 1 - ถาไมเทากัน ไมสามารถนํามาบวก หรือลบกันได คณิตศาสตร (84)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
การคูณเมตริกซ 1. คูณเมตริกซดวยคาคงที่ ถา A = [aij]m×n แลว c ⋅ A = [c ⋅ aij]m×n 1 2 3 10 20 30 เชน 10 ⋅ 4 5 6 = 40 50 60 2. คูณเมตริกซดวยเมตริกซ เมตริกซจะคูณกันไดก็ตอเมื่อ จํานวนหลักของเมตริกซตัวตั้ง เทากับ จํานวนแถวของเมตริกซตัวคูณ และผลคูณที่ไดจะมีมิติเทากับ “แถวของเมตริกซตัวตั้ง (ตัวหนา) × หลักของเมตริกซตัวคูณ (ตัวหลัง)” ดังนี้ A 2×2 × B2×3 = C 2×3 เทากัน
3. สมบัติเกี่ยวกับการคูณของเมตริกซ ถา A, B และ C เปนเมตริกซที่บวก ลบ และคูณกันได และ k เปนจํานวนจริงใดๆ แลว 1. ถา A เปนเมตริกซจัตุรัสแลว An = A ⋅ A ⋅ A ⋅ ... ⋅ A 2. เมตริกซที่จะนํามายกกําลังได ตองเปนเมตริกซจัตุรัสเทานั้น 3. AI = IA = A (I เปนเมตริกซหนึ่งหนวย) 4. k(AB) = A(k)B = (AB)k 5. (AB)C = A(BC) 6. A(B + C) = AB + AC (การแจกแจงดานซาย) 7. (A + B)C = AC + BC (การแจกแจงดานขวา) 8. (kA)n = kn ⋅ An 9. (-A)2 = A2 10. AB อาจจะเทาหรือไมเทากับ BA ก็ได 11. ถา AB ≠ BA แลว 1) (A + B)2 = (A + B)(A + B) = A2 + AB + BA + A2 2) A - B)2 = (A - B)(A - B) = A2 - AB - BA + A2 3) (A + B)(A - B) = A2 - AB + BA - B2 12. ถา AB = BA แลว 1) (A + B)2 = A2 + 2AB + A2 = A2 + 2BA + A2 2) (A - B)2 = A2 - 2AB + A2 = A2 - 2BA + A2 3) (A + B)(A - B) = A2 - B2 13. ถา AB = 0 แลว A = 0 หรือ B = 0 หรือ ทั้ง A, B ≠ 0
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (85)
ทรานสโพสของเมตริกซ (At) คือ เมตริกซที่เกิดจากการเปลี่ยนสมาชิกในแถว m ใดๆ เปนหลัก m หรือ 1 เมตริกซที่เกิดจากการเปลี่ยนสมาชิกในหลัก n ใดๆ เปนแถว n เชน ถา A = [1 4] แลว At = 4 สมบัติเกี่ยวกับทรานโพสของเมตริกซ 1. (At)t = A 2. (A + B)t = At + Bt 3. (A - B)t = At - Bt 4. (cA)t = cAt 5. (AB)t = BtAt 6. (ABC)t = CtBtAt 7. (At)n = (An)t ดีเทอรมิแนนต (Determinant) คือ คาของจํานวนจริงที่ไดจากเมตริกซจัตุรัสเทานั้น ดีเทอรมิแนนตของเมตริกซ A แทนดวย det (A) a b หรือ |A| หรือ c d การหาคา Determiant 1. ดีเทอรมิแนนตของเมตริกซ 1 × 1 เชน ถา A = [1] แลว det A = 1 2. ดีเทอรมิแนนตของเมตริกซ 2 × 2 เชน 6 2 1 ถา A = แลว det (A) = คูณลง - คูณขึ้น = (-1) - (6) = -7 3 -1 -1 3. ดีเทอรมิแนนตของเมตริกซ 3 × 3 เชน 0 5 -4 1 -1 0 1 -1 ถา A = 2 3 1 2 3 แลว det (A) = คูณลง - คูณขึ้น = (6 + 4 + 0) - (0 + 5 - 4) -4 -4 = 10 - 1 = 9 5 5 2 6 4 0 4. ดีเทอรมิแนนตของเมตริกซ n × n เชน a c a12 a13 c12 c13 11 11 กําหนดให A = a21 a22 a23 และ C(A) = c21 c22 c23 a c 31 a 32 a33 31 c32 c33 พิจารณาแถวที่ 1 det A = a11c11 + a12c12 + a13c13 พิจารณาแถวที่ 2 det A = a21c21 + a22c22 + a23c23 พิจารณาหลักที่ 1 det A = a11c11 + a21c21 + a31c31 พิจารณาหลักที่ 2 det A = a12c12 + a22c22 + a32c32 คณิตศาสตร (86)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
สมบัติของดีเทอรมิแนนต กําหนดให A, B, C เปนเมตริกซมิติ n × n 1. det (At) = det (A) 2. det (A ⋅ B ⋅ C ⋅ ... ⋅ Z) = det (A) ⋅ det (B) ⋅ det (C) ⋅ ... ⋅ det (Z) 3. det (I) = 1 4. det (0) = 0 5. det (Ak) = (det A)k 6. det (A-1) = (det A)-1 = det1(A)
7. det (kA) = kn ⋅ det (A), n เปนมิติของ A 8. det (adj A) = (det A)n-1 9. ถา A = B แลว det (A) = det (B) อินเวอรสการคูณของเมตริกซ 1. อินเวอรสการคูณของ A เขียนแทนดวยสัญลักษณ A-1 ซึ่ง A ⋅ A-1 = I = A-1 adj (A) 2. A-1 = det (A) นั่นคือ เมตริกซ A ใดๆ จะหาอินเวอรสได ก็ตอเมื่อ A เปนเมตริกซจัตุรัสเทานั้น และ det (A) ≠ 0 ถา “det (A) = 0” เรียก A วา “เมตริกซเอกฐาน (Singular Matrix)” ถา “det (A) ≠ 0” เรียก A วา “เมตริกซไมเอกฐาน (Non - Singular Matrix)” การหาอินเวอรสการคูณของเมตริกซ d -b a b -c a 1 1. อินเวอรสการคูณของเมตริกซ 2 × 2 ถา A = c d แลว A = det (A) 2. อินเวอรสการคูณของเมตริกซ n × n หาไดดังแผนภาพตอไปนี้ A
M(A)
C(A)
adj(A)
A-1
m11 m12 m13 ไมเนอร (Minor) เชน M(A) = m21 m22 m23 โดยที่ m31 m32 m33 ไมเนอรตําแหนง ij (mij) คือ ดีเทอรมิแนนตของเมตริกซที่ไดจากการตัดแถวที่ i และหลักที่ j ของเมตริกซ
เชน
แถวที่ 1
a11 a12 a13 a 22 a23 m11 = det a21 a22 a23 = det a a = a22a33 - a32a23 33 32 a31 a32 a33
หลักที่ 1
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (87)
c11 c12 c13 โคแฟกเตอร (Cofactor) เชน C(A) = c21 c22 c23 โดยที่ cij = (-1)i+j ⋅ mij c31 c32 c33 เมตริกซผูกพัน (Adjoint) adj (A) = [C(A)]t adj (A) อินเวอรสการคูณของเมตริกซ A-1 = det (A) ระบบสมการเชิงเสน กําหนดระบบสมการเชิงเสน a1x + b1y + c1z = d1 a2x + b2y + c2z = d2 a3x + b3y + c3z = d3 a d b1 c1 x 1 1 = d2 เขียนสมการดังกลาวในรูปเมตริกซ a2 b2 c2 ⋅ y a d b3 c3 z 3 3 หรือ A X = B การแกระบบสมการเชิงเสน 1. โดยใชอินเวอรสของเมตริกซ ถา AX = B แลว X = A-1B เมื่อ det A ≠ 0 2. โดยใชกฎของเครเมอร (Kramer’s rule)
d1 d2 d x= 3 a1 a2 a3
b1 b2 b3 b1 b2 b3
c1 c2 c3 D = Dx ; y = c1 c2 c3
a1 a2 a3 a1 a2 a3
d1 d2 d3 b1 b2 b3
c1 c2 c3 D = Dy ; z = c1 c2 c3
a1 a2 a3 a1 a2 a3
b1 b2 b3 b1 b2 b3
d1 d2 d3 D z = D c1 c2 c3
3. โดยใชการดําเนินการตามแถว (row operation) วิธีดําเนินการบนแถวของเมตริกซ 1. สามารถสลับ 2 แถวใดๆ ได 2. สามารถคูณแถวใดแถวหนึ่งดวยตัวเลขทีไ่ มใชศูนยได 3. สามารถนําสองแถวใดๆ มาบวก หรือ ลบกันได 4. สามารถคูณแถวใดแถวหนึ่งดวยตัวเลขที่ไมใชศูนย แลวนําไปบวก หรือ ลบกับอีกแถวหนึ่งได a b1 c1 d1 1 0 0 x 1 a b2 c2 d1 ∼ 0 1 0 y 2 a b3 c3 d1 0 0 1 z 3 [A : I] ∼ [I : A-1] คณิตศาสตร (88)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
แบบทดสอบ 1 2 2 1 1. A = 3 4 และ B = -1 1 พิจารณาขอความตอไปนี้ 2 2 ก. (A + B) = A + 2AB + B2 ข. (A - B)2 = A2 - 2AB + B2 ค. A2 - B2 = (A - B)(A + B) ขอใดสรุปเกี่ยวกับขอความขางตนไดถูกตองที่สุด 1) ถูกทุกขอ 2) มีถูก 2 ขอ 3) มีถูก 1 ขอ
*4) ผิดทุกขอ
0 x 0 -1 2. det 2 0 2 2 = x 1- 1 แลว x มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 3 1 5
1) 1
2) 2
3. นดเมตริกซ A และ B ดังนี้ A =
3) 3
x2
-2 2
,B=
*4) 4 -2 -4x 2 0 โดยที่ x เปนจํานวนจริง ถา
2 2 x det (2A) = -76 แลว เมทริกซ C ในขอใดตอไปนี้ ที่ทําใหคาของ det (BC) อยูภายในชวง (-100, -50) 1 -1 -1 2 2 1 2 1 2) C = 1 1 3) C = -1 4 4) C = 3 -1 *1) C = 1 2 1 a 1 -3 4. กําหนดให a, b เปนจํานวนจริง และ A = 1 b , B = 2 3 ถา (A + B)2 - 2AB = A2 + B2 แลว det (A) เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 0.5 2) 1.5 3) 3.5 4) 4.5 5. กําหนดให A เปนเมทริกซที่มีมิติ 2 × 2 และ det (A) = 4 ถา I เปนเมทริกซเอกลักษณ และ A - 3I เปน เมทริกซเอกฐาน แลว det (A + 3I) เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 0 2) 6 3) 13 *4) 26 6. ให A เปนเมตริกซมิติ 3 × 3 และ Aij คือเมตริกซที่ไดจากการตัดแถวที่ i และหลักที่ j ของเมตริกซ A ออก 2 -5 -1 -1 -2 1 -1 ถา adj A = -28 10 -1 , A11 = 5 8 และ A32 = 3 -2 แลว det (A) มีคาเทากับขอใด 17 -5 -1 1) -92 *2) -15 3) 15 4) 92
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (89)
7.
8. 9.
10.
3 3 -1 กําหนดเมตริกซ A = [aij] ถา det (A) = -92 และ adj(A) = -9 1 -1 2 แลว 3a11 + 3a21 – a31 2 1 2 มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 9) -1 3 -1 1 2 1 ให A เปนเมตริกซมิติ 3 × 3 ถา M13 = 1 2 , M21 = 2 4 และ M32 = -1 0 แลว det A มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 15) ให A เปนเมตริกซจัตุรัสมิติ 4 × 4 และ Mij(A) คือไมเนอรของ aij ถา M23(A) = 5 แลว M32(2At) เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 10 2) 20 *3) 40 4) 80 1 2 4 กําหนดให A = -3 8 0 สมาชิกในแถวที่ 3 หลักที่ 1 ของ A-1 เทากับเทาใด (ตอบ 15 ) 1 2 -1
1 2 -1 11. กําหนดให A = 2 x 2 โดยที่ x และ y เปนจํานวนจริง ถา C11(A) = 13 และ C21(A) = 9 แลว 2 1 y det(A) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) -33 2) -30 3) 30 *4) 33 -2 2 3 12. กําหนดให 1 -1 0 สมาชิกในแถวที่ 2 และหลักที่ 3 ของ A-1 เทากับขอใดตอไปนี้ 0 1 4 1) - 23 2) -2 4) 2 *3) 23
2 x 1 13. กําหนดเมทริกซ A = -1 0 1 โดยที่ x เปนจํานวนจริง ถา C22(A) = 14 แลว det (adj (A)) มี 1 - x 2 2x คาเทาใด (ตอบ 36) x 1 1 14. กําหนดให A = 3 1 1 ถา C12(A) = 4 แลว det (2A) มีคาเทาใด (ตอบ 16) x 0 -1
คณิตศาสตร (90)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
3 4 -1 2 15. ถา A และ B เปนเมทริกซซึ่ง 2A - B = 3 6 และ 2A + B = 4 -2 แลว (AB)-1 คือเมทริกซใน ขอใดตอไปนี้ 0 1 - 1 -1 1 1 -1 0 4 1) 4 2) 3) * 4) 0 - 1 1 1 4 4 1 -1 0 -1
16. กําหนดให x x2 x 0 0 0
n เปนจํานวนนับ และ x เปนจํานวนจริงซึงไมเทากับ 1 ถา A คือตัวผกผันการคูณของเมทริกซ xn 0 0 x2 แลวคาของ n ที่ทําให [1 0 0]A 0 = [2 0 0]A 0 เทากับขอใดตอไปนี้ 2 3 x
1) 1
*2) 3
3) 6
4) 9
a b c 2 17. กําหนดให A = 0 c2 a ถา A + AT เปนเมทริกซเอกฐานและ a3 + b3 + c3 = 1 แลว det (A-1) 0 0 b2 เทากับขอใดตอไปนี้ *1) 24 2) 8 3) 2 4) 0 60 20 5 0 18. ถา A เปน 2 × 2 เมตริกซ ซึ่งมิใชเอกฐาน และ ถา 30 40 A = 0 5 แลว A-1 คือเมตริกซในขอ ใดตอไปนี้ 6 2 9 -18 12 4 12 20 1) 3 4 2) -12 6 *3) 6 8 4) 30 8 1 2 -1 19. ให A เปนเมตริกซ และ I เปนเมตริกซเอกลักษณมิติ 3 × 3 ถา B = 3 0 1 และ -2 1 0 0 2 -3 C = 3 -1 2 สอดคลองกับสมการ AB - AC - 12 I = 0 แลว A-1 คือเมตริกซในขอใดตอไปนี้ 0 2 1 1 2 -1 -2 0 2 0 4 0 -2 0 -4 1) 0 1 -1 *2) 0 2 -2 3) 0 -1 1 4) 0 -2 2 -2 -1 -1 -4 -2 -2 2 4 1 1 2 2
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (91)
1 2 1 1 -1 0 x 20. กําหนดให X = y สอดคลองสมการ AX = C เมื่อ A = -2 0 1 , B = 2 0 -1 และ 0 1 2 1 4 0 z 2 a -2 ถา (2A + B)X = b แลว a + b + c มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 3 c 1) 3 2) 6 *3) 9 4) 12 21. ถา x, y และ z สอดคลองกับระบบสมการ x + 2y - 2z = -2 2x + y + 2z = 5 x - 3y - 2z = 3 -3 2 1 แลว ดีเทอรมิแนนต -2 -2 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 2 x + 2y 2x + y x - 3y *1) 60 2) 75 3) 90 4) 105 22. ถา x, y และ z เปนจํานวนจริงซึ่งสอดคลองกับระบบสมการเชิงเสน 2x - 2y - z = 1 x - 3y + z = 7 -x + y - z = -5 แลว 1x + 2y + 3z เทากับขอใดตอไปนี้
*1) 0 2) 2 3) 5 23. ถา x, y และ z เปนจํานวนจริงซึ่งสอดคลองระบบสมการ 2x - 2y - z = -5 x - 3y + z = -6 -x + y - z = 4 ขอใดตอไปนี้ถูกตอง *1) x2 + y2 + z2 = 6 2) x + y + z = 2 3) xyz = 6
C=
4) 8
4) xyz = -2
1 x 1 -1 0 24. กําหนดให B = 0 1 2 , C = 0 , X = y และ I เปนเมตริกซเอกลักษณ ถา A เปนเมตริกซมิติ 2 z 3 0 1 3 × 3 ซึ่งสอดคลองกับสมการ 2AB = I และ AX = C แลว คาของ x + y + z เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 20 2) 24 3) 26 4) 30
คณิตศาสตร (92)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
25. กําหนดให A = 1 และ A ∼ 0 -1 1) -1
1 2 -1 2 -1 0
1 x 2 a 3 b , X = y , B = 1 โดยที่ a, b, c เปนจํานวนจริง ถา AX = B 0 z 0 c 3 -1 R2 - 2R1 แลว x มีคาเทากับเทาใด 2 3) 34 4) 2 *2) - 23
4 12 -3 26. กําหนดให A = 7 -10 5 และ B, C, D เปนเมตริกซมิติ 3 × 3 ซึ่ง A ∼ B ∼ C ∼ D 1 0 0 โดยที่ B ไดจาก A โดยการดําเนินการ R1 - 34 R2 C ไดจาก B โดยการดําเนินการ 5R1 D ไดจาก C โดยการดําเนินการ R23 แลว det (D) เทากับขอใดตอไปนี้ 1) -3,750 2) -150 *3) 150 4) 3,750 3 x 3 27. กําหนดให A = 2 0 9 เมื่อ x เปนจํานวนจริง 1 1 2
3 x 3 ถา 2 0 9 1 1 2
1 0 0 1 0 0 0 1 0 ∼ 0 1 0 0 0 1 0 0 1
9 5 -36 -5 -3 21 -2 -1 8
แลว x มีคาเทากับเทาใด
28. ให x, y และ z เปนคําตอบของระบบสมการเชิงเสน a11x + a12y + a13z = 2 a21x + a22y + a23z = 1 a31x + a32y + a33z = 0 a a12 a13 1 0 0 1 0 0 1 -1 1 11 ถา a21 a22 a23 0 1 0 ∼ 0 1 0 0 -2 1 แลว คาของ x + y + z เทากับเทาใด 0 0 1 2 a 3 0 31 a 32 a 33 0 0 1 (ตอบ 6)
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
______________________________ คณิตศาสตร (93)
1 0 2 29. กําหนดให a เปนจํานวนจริง และ A = 0 3 0 ถา a > 0 และ det (adj A) = 225 แลว a มีคา 4 0 a เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 11 2) 12 *3) 13 4) 14 30. ให A และ B เปนเมตริกซจัตุรัสมิติ 4 × 4 และ I เปนเมตริกซเอกลักษณมิติ 4 × 4 โดยที่ A(adj A) - BA = I ถา det B = 0 แลว det A มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) -1 2) 0 *3) 1 4) 2 2i-1 ; i = j (A t ) เทากับขอใดตอไปนี้ 31. กําหนดให A = [aij]3×3 โดยที่ aij = det 4 adj 2 ; i ≠ j det (A) *1) -16 2) -4 3) 4 4) 16 1 2 0 1 แลว x เปนจริงตาม 32. ถา A เปนเมตริกซซึ่ง A-1 = 3 1 -1 , x > 0 และ det (2 adj A) = 18 x 0 -2 ขอใดตอไปนี้ 1) x < 5 2) 5 ≤ x < 9 *3) 9 ≤ x < 13 4) x ≥ 13
คณิตศาสตร (94)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
เรขาคณิตวิเคราะห และภาคตัดกรวย 1. ระยะตางๆ 1.1 ระยะระหวางจุดสองจุด B (x , y ) 2 2
y2 - y1
AB =
(x 2 - x 1 ) 2 + (y 2 - y 1 ) 2
A (x1, y1) x2 - x1
1.2 ระยะตั้งฉากจากจุด (m, n) ไปยังเสนตรง Ax + By + C = 0 (m, n)
d = |Am + Bn + C| A 2 + B2
d Ax + By + C = 0
1.3 ระยะระหวางเสนคูขนาน Ax + By + C = 0
d =
d
|C - D| A 2 + B2
Ax + By + D = 0
2. จุดแบงสวนของเสนตรง 2.1 จุดกึ่งกลาง B(x2, y2) A(x1, y1)
P(x, y)
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
P (x, y) =
x1 + x2 , y1 + y2 2 2
______________________________ คณิตศาสตร (95)
2.2 จุดแบงสวนของเสนตรงออกเปนอัตราสวน m : n
A(x1, y1)
n
m
B(x2, y2)
P(x, y) =
P(x, y)
mx1 + nx2 , my1 + ny2 m+n m+n
2.3 จุดตัดของเสนมัธยฐาน A(x1, y1) 2 1
B(x2, y2)
P(x, y)
x1 + x 2 + x 3 3 y1 + y 2 + y 3 3
x = y =
D
C(x2, y2)
3. ความชันของเสนตรง (Slope, m) 3.1 กําหนดมุม θ
m = tan θ θ
3.2 กําหนดจุดสองจุด B(x2, y2) y2- y1 A(x1, y1)
x2 - x1
3.3 กําหนดสมการเสนตรง แบบที่ 1 y = ax + b
จะได
a b แบบที่ 2 Ax + By + C = 0 จะได - AB - CB
คณิตศาสตร (96)______________________________
m = =
y2 - y1 x2 - x1 y1 - y 2 x 1 - x 2 โดยที่ x1 ≠ x2
คือ ความชัน คือ ระยะตัดแกน y คือ ความชัน คือ ระยะตัดแกน y
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
3.4 ความชันแบบตางๆ
m>O
m=O
m
m หาคาไมได
3.5 มุมระหวางเสนตรงสองเสน Y
L2 θ θ1 θ2
L1
m -m tan θ = 1 +2 m m1 2 1 X
3.6 ความสัมพันธระหวางเสนตรงสองเสน L1
L1
m 1 = m2
L2
m1 ⋅ m2 = -1 L2
4. สมการเสนตรง (x1, y1)
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
y - y1 = m(x - x1) เมื่อ m คือ ความชัน และ (x1, y1) คือ จุดบนเสนตรง
______________________________ คณิตศาสตร (97)
5. วงกลม (Circle) คือ เซตของจุดทั้งหมดในระนาบที่หางจากจุดๆ หนึ่งที่ตรึงอยูกับที่เปนระยะทางคงตัว 5.1 สมการรูปแบบมาตรฐานของวงกลม x2 + y2 = r2
(x - h)2 + (y - k)2 = r2
Y
Y r
P(x, y)
r
C(0, 0)
P(x, y)
C(h, k)
X
X
5.2 สมการรูปแบบทั่วไปของวงกลม x2 + y2 + Ax + By + C = 0 จุดศูนยกลาง (h, k) = -A2 , -B2 รัศมี (r) =
h2 + k2 - C =
A 2 + B 2 - 4C 2
5.3 ระยะจากจุดใดๆ ไปยังวงกลม ใหวงกลมมีสมการเปน x2 + y2 + Ax + By + C = 0 หรือ (x - h)2 + (y - k)2 = r2 ♥ ความยาวเสนสัมผัสวงกลม P(x1, y1) x 12 + y 12 + Ax 1 + By 1 + C PA = A หรือ PA =
O
♥
(x 1 - h) 2 + (y 1 - k) 2 - r 2
ระยะทางที่สั้นที่สุดจากจุดไปยังวงกลม P r A O
• •
P เปนจุดภายนอกวงกลม PA = PO - r Q เปนจุดภายในวงกลม QB = r - QO
Q B
คณิตศาสตร (98)______________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ระยะทางที่ยาวที่สุดจากจุดไปยังวงกลม
♥
P
B r r
• •
P เปนจุดภายนอกวงกลม PA = PO + r Q เปนจุดภายในวงกลม QB = QO + r
O Q
A
6. พาราโบลา (Parabola) คือ เซตของจุดทั้งหมดในระนาบซึ่งหางจากจุด F ที่ตรึงอยูกับที่จุดหนึ่งและเสนตรง l ที่ตรึงอยูกับที่ เสนหนึ่งเปนระยะทางเทากัน F
A
พาราโบลา
c V
V F
คือ จุดยอดของพาราโบลา คือ จุดโฟกัสของพาราโบลา l คือ เสนไดเรกตริกซ (directrix) c คือ ระยะโฟกัส AB คือ เสนเลตัสเรกตัม (latus rectum line)
B l
12
6
10
4
8
2
6
F(h, k + c)
(x, y)
2
-5
(x, y) F(h, k - c) 5
-5
4
y=k+c
-2
y=k-c 5
-4
10
(x - h)2 = 4c(y - k)
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
-6
(x - h)2 = 4c(y - k)
______________________________ คณิตศาสตร (99)
10
10
(x, y)
8
(x, y)
x = h -6 c
8 6 4
4 2
F(h - c, k)2
F(h + c, k) 5
x=h+c
10
-2
-2
(y - k)2 = 4c(x - h)
(y - k)2 = 4c(x - h)
7. วงรี (Ellipse) คือ เซตของจุดทั้งหมดในระนาบซึ่งผลบวกของระยะทางจากจุดใดๆ ไปยังจุด F1 และ F2 ที่ตรึงอยูกับ ที่มีคาคงตัว โดยคาคงตัวนี้มีคามากกวาระยะหางระหวางจุดที่ตรึงอยูกับที่ทั้งสอง จุดสองจุดที่ตรึงอยูกับที่นี้เรียกวา โฟกัส (focus) ของวงรี Y a P2 B P1 G b V ′ F′ F V X C c 2 G′ a2 x = - ac = x c B′ P1F1 + P1F2 = P2F1 + P2F2 = 2a
จุดศูนยกลางของวงรี จุดยอดของวงรี จุดโฟกัสของวงรี แกนเอก (major axis) ของวงรี ยาว 2a หนวย แกนโท (minor axis) ของวงรี ยาว 2b หนวย ระยะโฟกัส ยาว c หนวย 2 ♥ GG′ คือ เลตัสเรกตัม ยาว 2ba หนวย ♥ 0 < b < a เสมอ ♥ สมการรูปแบบมาตรฐานของวงรี ♥ ♥ ♥ ♥ ♥ ♥
C V, V′ F, F′ VV′ BB′ CF = CF′
คือ คือ คือ คือ คือ คือ
คณิตศาสตร (100)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
(x - h)2 + (y - k)2 = 1 เมื่อ c2 = a2 - b2 a2 b2 Y B(h, k + b) P(x, y) V′(h - a, k)
C(h, k) F′(h - c, k) F(h + c, k) V(h + a, k)
(y - k)2 + (x - h)2 = 1 เมื่อ c2 = a2 - b2 a2 b2 V(h, k + a) Y F′(h, k + c) P(x, y) C(h, k) B(h + b, k) B′(h - b, k) O
X
O
F(h, k - c)
B′(h, k - b)
X
V′(h, k - a)
8. ไฮเพอรโบลา (hyperbola) คือ เซตของจุดทั้งหมดในระนาบซึ่ง ผลตาง ของระยะทางจากจุดใดๆ ไปยังจุด F1 และ F2 ที่ตรึงอยู กับที่มีคาคงตัว โดยคาคงตัวนอยกวาระยะหางระหวางจุดคงที่ที่ตรึงอยูกับที่ทั้งสอง จุด F1 และ F2 ดังกลาวนี้ เรียกวา โฟกัส ของไฮเพอรโบลา P(x, y) F1(-c, O)
Y
|PF1 - PF2| = คาคงตัว = 2a
X
F2(c, O)
สวนประกอบของไฮเพอรโบลา l2
G1 F2 -5
l1
B1 2
V2
b
c C(h, k)
G2
-2 -4
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
G3
B2
a
V1
5
G4
_____________________________ คณิตศาสตร (101)
จุดศูนยกลางของไฮเพอรโบลา จุดยอดของไฮเพอรโบลา จุดโฟกัสของไฮเพอรโบลา แกนตามขวาง (transveral axis) ยาว 2a หนวย แกนสังยุค (conjugate axis) ยาว 2b หนวย ระยะโฟกัส ยาว c หนวย 2 ♥ GG′ คือ เลตัสเรกตัม ยาว 2ba หนวย ♥ l1, l2 คือ เสนกํากับ(asymptote) ♥ สมการรูปแบบมาตรฐานของไฮเพอรโบลา ♥ ♥ ♥ ♥ ♥ ♥
C V, V′ F, F′ VV′ BB′ CF = CF′
คือ คือ คือ คือ คือ คือ
(x - h)2 + (y - k)2 = 1 เมื่อ c2 = a2 + b2 a2 b2
(y - k)2 + (x - h)2 = 1 เมื่อ c2 = a2 + b2 a2 b2
Y
Y B(h, k + b)
V V′ F′(h - c, k) (h - a, k) (h + a, k) F(h + c, k) B′(h, k - b)
X
คณิตศาสตร (102)_____________________________
F(h, k + c) V(h, k + a) B′(h + b, k) B(h + b, k) C(h, k) V′(h, k - a) F′(h, k - c) X
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
แบบทดสอบ 1. กําหนดให A = {(x, y) | x2 + y2 = 1} และ B = {(x, y) | x2 + y2 - 10x - 10y + 49 = 0} ถา p ∈ A และ q ∈ B แลว ระยะทางมากสุดที่เปนไปไดระหวางจุด p และ q เทากับขอใดตอไปนี้ *2) 2 + 5 2 หนวย 3) 2 5 หนวย 4) 5 + 2 5 หนวย 1) 5 2 หนวย 2. ให a, b และ c เปนจํานวนจริง ถาวงกลม x2 + y2 + ax + by + c = 0 มีจุดศูนยกลางที่ (2, 1) และมี เสนตรง x - y + 2 = 0 เปนเสนสัมผัสวงกลม แลว | a + b + c | (ตอบ 5.5) 3. กําหนดใหเสนตรง l1 และ l2 สัมผัสวงกลม (x - 5)2 + y2 = 20 ที่จุด P และ Q ตามลําดับ และจุด ศูนยกลางของวงกลมอยูบนเสนตรงที่ผานจุด P และ Q ถา l1 มีสมการเปน x - 2y + 5 = 0 แลวจุดใน ขอใดตอไปนี้อยูบน l2 2) (8, -1) 3) (1, -8) *4) (15, 0) 1) 0, 52 4. กําหนดให วงกลมรูปหนึ่งมีจุดศูนยกลางอยูที่จุด (2, 1) ถาเสนสัมผัสวงกลมที่จุด x = 1 เสนหนึ่งมีความชัน เทากับ 1 แลวจุดในขอใดตอไปนี้อยูบนวงกลมที่กําหนด 3 *1) (0, 1) 2) (0, 2) 3) (1, 0) 4) (3, 0) 5. กําหนดให C1 และ C2 เปนวงกลมที่มีสมการเปน x2 + y2 = 2y และ x2 + y2 + 2y = 3 ตามลําดับ และ L เปนเสนตรงที่ความชันนอยกวา 0 ซึ่งสัมผัสทั้งวงกลม C1 และ C2 ขอใดตอไปนี้เปนความชันของ L 2) - 1 *3) - 3 4) 1 1) - 2 2 3 6. วงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนยกลางอยูที่จุดศูนยกลางของวงรีที่มีสมการเปน 9x2 + 4y2 - 36x - 24y + 36 = 0 ถาวงกลมนี้สัมผัสกับเสนตรงที่ผานจุด (1, 3) และ (5, 0) แลว รัศมีของวงกลมนี้เทากับขอใดตอไปนี้ 9 2) 54 3) 78 4) 13 *1) 53 7. พาราโบลามีจุดยอดที่ (-1, 0) และมีจุดกําเนิดเปนโฟกัส ถาเสนตรง y = x ตัดพาราโบลาที่จุด P และจุด Q แลว ระยะทางระหวางจุด P กับจุด Q เทากับเทาใด (ตอบ 8) 8. ถาเสนตรงหนึ่งผานจุดกําเนิดและจุดยอดของพาราโบลา y2 - 4y + 4x = 0 และตัดเสนไดเรกตริกซที่จุด (a, b) แลว a + b มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 4 2) 5 *3) 6 4) 7 9. ถาระยะทางระหวางจุด (x, y) กับจุด (2, 2) เทากับระยะทางระหวางจุด (x, y) กับเสนตรง x + y = 0 แลว จุด (x, y) อยูบนกราฟของสมการในขอใดตอไปนี้ 2) (x - y)2 = 4(x + y - 2) *1) (x - y)2 = 8(x + y - 2) 4) (x + y)2 = (x + y) + 2 3) (x + y)2 = 8(x + y) - 12
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (103)
10. วงกลม C มีจุดศูนยกลางที่จุดกําเนิด และผานจุดโฟกัสของพาราโบลาซึ่งมีสมการเปน (x - 2)2 = 8y โดย เสนไดเรกตริกซของพาราโบลาตัดวงกลม C ที่จุด P และจุด Q ถาจุด R อยูบนพาราโบลาและอยูหางจาก จุดโฟกัสเปนระยะทาง 4 หนวย แลวสามเหลี่ยม PQR มีพื้นที่เทากับขอใด 1) 8 หนวย 2) 9 หนวย 3) 10 หนวย 4) 12 หนวย 11. วงรีวงหนึ่งมี F1(1, 1) และ F2(1, -3) เปนจุดโฟกัส ถา A และ B เปนจุดบนวงรีที่ทําใหรูปสามเหลี่ยม ABF2 มีเสนรอบรูปยาว 12 หนวย และสวนของเสนตรง AB ผาน F1 แลวจุดในขอใดตอไปนี้อยูบนวงรี 2) 2, 53 5 - 1 3) 3, 52 5 - 1 4) 2, 52 5 - 1 *1) 3, 53 5 - 1 12. กําหนดให วงรีรูปหนึ่งมีโฟกัสอยูที่จุด (±3, 0) และผานจุด 2, 221 จุดในขอใดตอไปนี้อยูบนวงรีที่ กําหนด 3) (6, 0) 4) (0, -3 2 ) *1) (-4, 0) 2) 0, 5 2 2
13. กําหนดใหวงรี E มีโฟกัสทั้งสองอยูบนวงกลม C ซึ่งมีสมการเปน x2 + y2 = 1 ถา E สัมผัสกับ C ที่จุด (1, 0) แลวจุดในขอใดตอไปนี้อยูบน E 2) 12, 52 3) 13, 23 *4) 13, 34 1) 12, 32 14. ให E เปนวงรีที่มีแกนเอกขนานกับแกน x มีจุดศูนยกลางที่ (-2, 1) สัมผัสเสนตรง x = 1 และ y = 3 โดยมี F1 และ F2 เปนจุดโฟกัสของ E ให C เปนวงกลมที่มี F1 F2 เปนเสนผานศูนยกลาง ถาวงรี E ตัดวงกลม C ที่จุด P, Q, R, S แลว พื้นที่รูปสี่เหลี่ยม PQRS มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 24 36 48 1) 12 5 ตารางหนวย 2) 5 ตารางหนวย 3) 5 ตารางหนวย *4) 5 ตารางหนวย
15. ถา k, λ และ m เปนจํานวนจริงที่ทําใหวงรี kx2 + λy2 - 72x - 24y + m = 0 มีจุดศูนยกลางอยูที่จุด (4, 3) และสัมผัสแกน Y แลว ขอใดตอไปนี้ผิด 1) ความยาวแกนเอกเทากับ 12 หนวย 2) ความยาวแกนโทเทากับ 8 หนวย 3) ระยะหางระหวางจุดโฟกัสทั้งสองเทากับ 4 5 หนวย 4) จุด (2, 6) อยูบนวงรี 16. ให F1 , F2 เปนจุดโฟกัสของวงรีที่มีสมการเปน kx2 + 4y2 - 4y = 8 และ B เปนจุดที่วงรีตัดแกน y และ อยูเหนือแกน x ถา F1, B, F2 ไมอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน และ F1BF2 เปนสามเหลี่ยมที่มีพื้นที่เทากับ 3 7 ตารางหนวยแลว k มีคาเทากับเทาใด 4 17. กําหนดใหวงรีวงหนึ่งมีสมการเปน 3x2 + 4y2 - 6x + 8y - 5 = 0 ถา P เปนจุดบนวงรี ซึ่งมีระยะหางจาก โฟกัสจุดหนึ่งเปนสองเทาของระยะระหวางโฟกัสกับจุดยอด จงหาระยะทางระหวางจุด P กับจุดยอดของวงรี (ตอบ 7 ) คณิตศาสตร (104)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
18. กําหนดให E เปนวงรีที่มีโฟกัสอยูที่จุดยอดของไฮเพอรโบลา x2 - y2 = 1 ถา E ผานจุด (0, 1) แลว จุดใน ขอใดตอไปนี้อยูบน E 2) (1, 2 ) 3) 1, -12 4) 1, 23 *1) 1, - 22 19. กําหนดให A และ B เปนโฟกัสของไฮเพอรโบลา 3x2 - y2 = 3 ถา P เปนจุดใดๆ บนวงรีที่มีโฟกัสที่จุด A, B และ AP + BP = 8 แลวสมการของวงรีคือขอใดตอไปนี้ 2) 4x2 + 3y2 = 48 3) 3x2 + 4y2 = 24 4) 3x2 + 4y2 = 48 1) 4x2 + 3y2 = 24 20. กําหนด H เปนไฮเพอรโบลาที่มีแกนตามขวางยาว 6 หนวย และแกนสังยุคยาว 8 หนวย โดยมี F1 และ F2 เปนจุดโฟกัส ถา P เปนจุดบนไฮเพอรโบลา H ที่ทําให F1 PˆF2 = 90° แลวรูปสามเหลี่ยม F1PF2 มีพื้นที่ กี่ตารางหนวย (ตอบ 16 ตารางหนวย) 21. กําหนดให H เปนไฮเพอรโบลาที่มีสมการเปน 16x2 - 9y2 - 144 = 0 ถาจุด A(6, k) เมื่อ k > 0 เปนจุด อยูบนเสนกํากับของ H และ F1, F2 เปนโฟกัสของ H แลว พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม AF1F2 เทากับขอใด ตอไปนี้ 45 1) 37 2 ตารางหนวย 2) 2 ตารางหนวย 3) 30 ตารางหนวย *4) 40 ตารางหนวย 22. กําหนด F เปนจุดโฟกัสของพาราโบลา y2 - 2y + 4x + 9 = 0 และ C เปนจุดศูนยกลางของวงกลม x2 + y2 - 6x + 4y + 12 = 0 ถาสวนของเสนตรง FC ตัดวงกลมที่จุด T แลวสวนของเสนตรง FT มีความยาวเทากับขอใดตอไปนี้ 3) 41 - 1 *4) 3 5 - 1 1) 4 2) 29 - 1 23. กําหนดให A = {a | เสนตรง y = ax ไมตัดกราฟ y2 = 1 + x2} และ B = {b | เสนตรง y = x + b ตัดกราฟ y2 = 1 - x2 สองจุด} เซต {d | d = c2 , c ∈ B - A} เทากับชวงในขอใดตอไปนี้ 1) (0, 1) 2) (0, 2) *3) (1, 2) 4) (0, 4) 24. กําหนดให A = {(x, y) | x2 + y2 > 1}, B = {(x, y) | 4x2 + 9y2 < 1}, C = {(x, y) | y2 - x2 > 1} ขอใดตอไปนีผ้ ิด 1) A - B = A 2) B - C = B 4) A I (B U C) = ∅ 3) B I (A U C) = ∅ 25. ให A และ B เปนจุดยอดของไฮเพอรโบลา 4x2 - y2 - 24x + 6y + 11 = 0 สมการของพาราโบลาที่มี AB เปนเลตัสเรกตัม และมีกราฟอยูเหนือแกน X คือสมการในขอใดตอไปนี้ 2) (x - 3)2 = 8(y - 1) *1) (x - 3)2 = 4(y - 2) 4) (x - 2)2 = 8(y - 1) 3) (x - 2)2 = 4(y - 2) 26. กําหนดให S = {(x, y) | x2 + y2 ≤ 17}, A = {(x, y) | x2 - y2 = 1}, B = {(x, y) | y2 - x2 = 1} ถา p ∈ S I A และ q ∈ S I B แลวระยะทางทีน่ อยสุดทีเ่ ปนไปไดระหวางจุด p และ q เทากับขอใดตอไปนี้ 2) 3 2 - 2 3) 2 3 - 2 4) 2 3 - 3 *1) 3 2 - 4 โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (105)
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล และฟงกชันลอการิทึม (Exponential and Logarithm Functions) เลขยกกําลัง บทนิยาม
ถา a เปนจํานวนจริง และ n เปนจํานวนนับ 1. an = a × a × a × ... × a 2. 3. 4. 5. 6.
n ตัว m n m+n a ⋅a = a (an)m = anm (ab)n = an ⋅ bn n an a = เมื่อ b ≠ 0 b bn a m = am-n เมื่อ a ≠ 0 an a0 = 1 เมื่อ a ≠ 0
7. 8. a-n =
1 an
เมื่อ a ≠ 0
รากที่ n ในระบบจํานวนจริง บทนิยาม ให n เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1, x และ y เปนจํานวนจริง y เปนรากที่ n ของ x ก็ตอเมื่อ yn = x คาหลักของรากที่ n บทนิยาม
ให x เปนจํานวนจริงที่มีรากที่ n จะกลาววา จํานวนจริง y เปนคาหลักของรากที่ n ของ x ก็ตอเมื่อ 1. y เปนรากที่ n ของ x 2. yx ≥ 0 แทนคาหลักของรากที่ n ของ x ดวย n x
คณิตศาสตร (106)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ขอสรุปเกี่ยวกับรากที่ 2 ของจํานวนจริง 1. รากที่สองของจํานวนจริงบวก (A) มี 2 คา คือ 1) รากที่เปนบวก ( A ) 2) รากที่เปนลบ (- A ) 2. รากที่สองของจํานวนศูนย มี 1 คา คือ 0 3. รากที่สองของจํานวนจริงลบ ไมสามารถหาคาได 4. สัญลักษณแทน รากที่สองที่เปนบวกของ 25 คือ 25 = 5 รากที่สองที่เปนลบของ 25 คือ - 25 = -5 5. A เรียกสัญลักษณ วา กรณฑ (Radical) ที่ 2 อานวา กรณฑที่ 2 ที่เปนบวกของ A หรือ อานวา square root A 6. คาหลักของรากที่ 2 ของจํานวนจริงบวก คือ รากที่สองที่เปนบวกของจํานวนจริงนั้น ขอสรุปเกี่ยวกับรากที่ 3 ของจํานวนจริง 1. รากที่สามของจํานวนจริง มีเพียง 1 คา 2. รากที่สามของจํานวนจริงบวก เปนจํานวนจริงบวก รากที่สามของจํานวนศูนย เปนศูนย รากที่สามของจํานวนจริงลบ เปนจํานวนจริงลบ 3. สัญลักษณแทน รากที่สามของ 64 คือ 3 64 = 4 รากที่สามของ 0 คือ 3 0 = 0 รากที่สามของ -343 คือ 3 - 343 = -7 4. 3 A เรียก 3 วา กรณฑที่สาม อานวา กรณฑที่สามของ A
5. คาหลักของรากที่ 3 ของจํานวนจริง คือ ตัวมันเอง ทฤษฎีบทเกี่ยวกับรากที่ n ทฤษฎีบทที่ 1 ถา x ≥ 0 และ y ≥ 0 แลว x ⋅ y = xy ทฤษฎีบทที่ 2 ถา x ≥ 0 และ y > 0 แลว x = xy y ทฤษฎีบทที่ 3 ถา x และ y มีรากที่ n แลว n x ⋅ n y = n xy n ทฤษฎีบทที่ 4 ถา x และ y มีรากที่ n และ y ≠ 0 แลว n x = n xy y เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ บทนิยาม เมื่อ a เปนจํานวนจริง n เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 และ a มีรากที่ n แลว a1/n = n x บทนิยาม ให a เปนจํานวนจริง p, q เปนจํานวนเต็มที่ (p, q) = 1, q > 0 และ a1/q ∈ R โดยเมื่อ p < 0 แลว a ตองไมเปน 0 ap/q = (a1/q)p
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (107)
การหารากที่สองของจํานวนที่อยูในรูป x ± 2 y x + 2 y = ( a + b )2 เมื่อ y = a × b และ x = a + b x - 2 y = ( a - b )2 เมื่อ y = a × b และ x = a + b
ตัวอยาง จํานวนจริง x ที่เปนคําตอบของสมการ 15 - b = 22 - 2 105 มีคาเทากับเทาใด ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล (Exponential Function) คือ ฟงกชัน f = {(x, y) ∈ R × R+ | y = ax ; a > 0 and a ≠ 1}
-2 -1
3
3
2 1
2 1 1
2
3
4
5
0 < a < 1 ฟงกชันลด
-5 -4 -3 -2 -1
1
a > 1 ฟงกชันเพิ่ม
การแกสมการฟงกชันเอกซโพเนนเชียล แบบที่ 1 สมการมี 2 พจน 1. จัดสมการในรูป ax = ay โดยใชสมบัติของเลขยกกําลัง 2. ถา ax = ay แลว x = y แบบที่ 2 สมการมี 3 พจนขึ้นไป 1. ใชวิธีการสมมติ 2. การแกสมการที่มีหลายพจนพยายามถอดตัวรวมออก แบบที่ 3 การแกสมการที่ตองใช Conjugate เขาชวย การแกอสมการฟงกชันเอกซโพเนนเชียล อสมการ ฐาน (a) ขอสรุป 0
ay x>y a>1 คณิตศาสตร (108)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
2
ฟงกชันลอการิทึม (Logarithm Function) คือ ฟงกชัน f = {(x, y) ∈ R+ × R|x = ay; a > 0 and a ≠ 1} f = {(x, y) ∈ R+ × R|y = loga x; a > 0 and a ≠ 1}
-3 -2 -1
3 2 1 0
0 1
2
3
4
5
6
7
-3 -2 -2
-1 -2 -3 -4
3 2 1 0
0 1
2
3
4
5
6
7
-1 -2 -3 -4
0 < a < 1 ฟงกชันลด
a > 1 ฟงกชันเพิ่ม
จงเขียนสมการแตละขอตอไปนี้ใหอยูในรูปของลอการิทึม 3 1 1) 25 = 32 2) 82/3 = 2 3) 13 = 27
ตัวอยางที่ 1
ตัวอยางที่ 2 จงเขียนสมการแตละขอตอไปนี้ใหอยูในรูปเลขยกกําลัง 2) log1 16 = -4 3) log5 1 = 0 1) log10 100 = 2 สมบัติของลอการิทึม 1. loga 1 = 0 3. log a y Mx = xy loga M
4) 3 = 31 4) log6 6 = 1
2. loga 1 = 0 4. loga M = log a x Mx 6. loga xy = loga x - loga y 8. a log a M = M 10. loga x = log1 a x
5. loga (x ⋅ y) = loga x + loga y
x log a y = y log a x log x 9. loga x = logc a c การแกสมการลอการิทึม 1. ทําฐานของ log ใหเทากัน แลวปลด log ออก โดยนําเอาทฤษฎีตางๆ มาใช 2. เมื่อหาคา x มาได จะตองพิจารณาดวยวาคา x ที่ไดมานั้นทําใหสมการเปนจริงหรือไม การแกอสมการลอการิทึม log a x > log a y
7.
0
a>1
x
x>y
x>0∧y>0
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (109)
แบบทดสอบ 1. ถา 4x-y = 128 และ 32x+y = 81 แลวคาของ y เทากับขอใดตอไปนี้ 1) -2 *2) -1 3) 1 2. ถา 6x+y = 36 และ 5x+2y = 125 แลวคาของ x เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 1 2) 1.5 *3) 2
4) 2 4) 2.5
2
(x + y) 3. ถา xy = 2 แลว 2 2 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 2(x- y) 1) 4 2) 8 3) 64 *4) 256 4. กําหนดให x, y > 0 ถา xy = yx และ y = 5x แลวคาของ x อยูในชวงใดตอไปนี้ 1) [0, 1) *2) [1, 2) 3) [2, 3) 4) [3, 4) 5. ถา x > 0 และ 8x + 8 = 4x + 2x+3 แลวคาของ x อยูในชวงใดตอไปนี้ 1) [0, 1) *2) [1, 2) 3) [2, 3) 4) [3, 4)
4 x + 9 x = 1 จงพิจารณาขอความตอไปนี้ 6. กําหนดสมการ 25 25 ก. ถา a เปนคําตอบของสมการ แลว a > 1 ข. ถาสมการมีคําตอบ แลวคําตอบจะมีเพียงคาเดียว ขอใดถูก 1) ก ถูก และ ข ถูก 2) ก ถูก และ ข ผิด *3) ก ผิด และ ข ถูก 4) ก ผิด และ ข ผิด 7. ให f : R → R+ ถา f สอดคลองสมการ f(x) - 3f 1x = 4x สําหรับทุกจํานวนจริงบวก x แลว ขอใด ตอไปนี้เปนจริง 1) ∃x[f(x) > 0] 2) ∃x f(x) + f 1x > 0
*3) ∃x[(f(x))2 < 8]
2 4) ∃x f(x) + f 1x < 9
8. กําหนดให x เปนจํานวนตรรกยะที่สอดคลองสมการ ( 5 - 1)(3 + 5 )x + ( 5 + 1)(3 - 5 )x = 4 ⋅ 2x ถาเขียน x = mn ในรูปเศษสวนอยางต่ํา โดยที่ m และ n เปนจํานวนเต็ม จงหา mn (ตอบ 21 ) 9. คําตอบของสมการ 3x(3x+1) + 3x+1(3x+2) = 2[2x(2x+1) + 2x+1 (2x+2)] อยูในชวงใด 1) (-1, 0) 2) [-2, -1) 3) (-2, -1] 4) (0, 1]
คณิตศาสตร (110)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
10. ถา a, b เปนคําตอบของสมการ 6x - 3x+1 - 2x+2 + 12 = 0 แลวคําตอบของสมการ (ab)2x+1 = (ab + 3)x เทากับขอใดตอไปนี้ 4 2) log log 3) log 18 - 2 *4) log 15 - 2 1) log 2log- 3log 3 7 - log 6 5 2 11. ให S เปนเซตคําตอบของสมการ 52x + 11 ≤ |12(5x) - 9| ถา a และ b เปนสมาชิกของ S ที่มีคามาก ที่สุดและนอยที่สุดตามลําดับ แลว a + b เทากับขอใดตอไปนี้ 1) log5 15 *2) log5 20 3) 2 4) log5 30 2 12. เซตคําตอบของอสมการ 2x (x-3) < 82/3-x เปนสับเซตของเซตในขอใดตอไปนี้ 1) (1, ∞) 2) (-2, 100) 3) (-10, 10) *4) (-∞, 2) 13. กําหนดให A และ B เปนจํานวนเต็มบวก ถา A log50 5 + B log50 2 = 1 แลว A + B เทากับขอใด ตอไปนี้ *1) 2 2) 3 3) 1 4) 2 14. กําหนดให a, b, c > 1 ถา loga d = 30, logb d = 50 และ logabc d = 15 แลวคาของ logc d เทากับขอ ใดตอไปนี้ *1) 75 2) 90 3) 120 4) 120 15. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ถา (log a)3 = x - 1 และ (log b)3 = x + 1 แลว log(a + b) = 3 x 2 - 1 ข. กราฟของ y = x2 และกราฟของ y = 2x ตัดกันเพียงสองจุดเทานั้น ขอใดตอไปนีถ้ ูก 1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก *4) ก. และ ข. ผิด 16. ถา log4x 2x2 = log9y 3y2 = log25z 5z2 แลว logxz (yz) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) log 6 2) log 10 *3) log 15 4) log 30 17. ถา xlog y ⋅ ylog z ⋅ zlog x = 1 และ xy ≠ 1 แลว ขอใดตอไปนีผ้ ิด 1) ถา x = y แลว xz2 = 1 *2) ถา x2y = 1 แลว z = x2 3) ถา x = y2 แลว xz3 = 1 4) ถา xy2 = 1 แลว z = x 18. กําหนดให a > 1 และ b, c > 0 ถา a2 + b2 = c2 และ x เปนจํานวนจริงซึ่ง logc+b a + logc-b a = x (logc+b a logc-b a) แลว x มีคาเทาใด (ตอบ 2) 19. รากที่มีคานอยที่สุดของสมการ 2log (x-2) ⋅ 2log (x-3) = 2log 2 มีคาเทาใด (ตอบ 4) 20. กําหนด logy x + 4 logx y = 4 แลว logy x3 มีคาเทาใด (ตอบ 6) 21. ผลบวกของคําตอบทั้งหมดของสมการ log3 x = 1 + logx 9 อยูในชวงใดตอไปนี้ 1) [0, 4) 2) [4, 8) *3) [8, 12) 4) [12, 16)
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (111)
22. คําตอบของสมการ log 23.
24. 25. 26.
2
(4 - x) = log2 (9 - 4x) + 1 อยูในชวงใดตอไปนี้
1) [-10, -6] 2) [-6, -2) *3) [-2, 2) 4) [2, 6) 3 กําหนดให A = {n|n เปนจํานวนนับและ n2+9 = nn -9} B = {n|n เปนจํานวนนับและ log n = log(n + 1)} ผลบวกของสมาชิกทุกตัวในเซต A U B เทากับเทาใด (ตอบ 4) ถา 4 (log x)2 + 9 (log y)2 = 12 (log x)(log y) แลวขอใดตอไปนี้ถูก 1) y2 = x 2) x2 = y *3) x3 = y3 4) x2 = y3 1 เทากับขอใดตอไปนี้ ผลบวกของรากทั้งหมดของสมการ log3 (31/x + 27) = log3 4 + 1 + 2x 1) 0 2) 12 *3) 34 4) 1 ถา log2 3 = 1.59 แลวคาของ x ที่สอดคลองกับสมการ 22x+1 ⋅ 32x+2 = 122x เทากับเทาใด (ตอบ 2.09)
27. กําหนดให A = z ∈ R z = xy และ 6 log (x - 2y) = log x3 + log y3 แลวผลบวกของสมาชิกทั้งหมดใน
เซต A มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 3 *2) 4 3) 5 4) 6 28. ผลบวกของคําตอบของสมการ log2 (4x-1 + 2x-1 + 6) = 2 + log2 (2x-1 + 1) มีคาเทาใด (ตอบ 3) 29. ขอใดตอไปนีถ้ ูกตอง *1) log7 3 < log7 3 < log7 10 2) log5 3 < log7 3 < log7 10 3) log7 3 < log7 10 < log5 3 4) log7 10 < log5 3 < log7 3 30. กําหนดให A เปนเซตคําตอบของอสมการ log4 log3 log2 (x2 + 2x) ≤ 0 จํานวนเต็มที่เปนสมาชิกของ A มีทั้งหมดกี่จํานวน (ตอบ 3) 31. ถา A = {x|a < x < b} เปนเซตคําตอบของอสมการ log2 (2x - 1) - log4 x2 + 12 < 12 แลว a + b มีคาเทาใด (ตอบ 2.5) 32. จํานวนเต็มที่สอดคลองกับอสมการ log1/2 [log3 (x + 1)] > -1 มีจํานวนเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 6 2) 7 *3) 8 4) มากกวา 8 2 33. กําหนดให S เปนเซตคําตอบของอสมการ 4 ⋅ 2log x - 9 ⋅ 2(log x/10 + 1) + 2 ≤ 0 ถา a และ b เปน สมาชิกของ S ที่มีคามากและคานอยสุด ตามลําดับแลว ab เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 20 2) 100 *3) 200 4) 1000 34. เซตคําตอบของอสมการ (4x - 2) ⋅ log (1 - x2) > 0 เปนสับเซตของเซตในขอใดตอไปนี้ *1) -2, 12 2) -12, 2 3) (0, 10) 4) 12, 20
คณิตศาสตร (112)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ฟงกชันตรีโกณมิติ (Trigonometry) B c A
b
a
1. sin A = ac ; cosec A = ca cos A = bc ; sec A = cb tan A = ab ; cot A = ba
C
2. cosec A = sin1 A , sec A = sin A , cot A = tan A = cos A 3. ถา A + B = 90° แลว 1) sin A 2) tan A 3) sec A 4. -1 ≤ sin A ≤ 1 -1 ≤ cos A ≤ 1 5. sin2 A + cos2 A = 1 sec2 A - tan2 A = 1 cosec2 A - cot2 a = 1
1 1 cos A , cot A = tan A cos A sin A = cos B = cot B = cosec B
วงกลมหนึ่งหนวย (the unit circle) 1. x = cos θ , y = sin θ 2. ตาราง π (0, 1) 2 , 90° มุม θ° (เรเดียน) ฟ ง ก ช น ั + S มุม (+) 30° π6 45° π4 (-, +) (+, +) π, 180° 0° (1, 0) (-1, 0) 1 1 = 2 sin 2 T C 2 2 (-, -) (+, -) มุม (-) 3 1 = 2 cos (0, -1) 3 π , 270° 2 2 2 2 1 = 3 tan 1 3 3 โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
60° π3
3 2 1 2 3
_____________________________ คณิตศาสตร (113)
3. cos (-A) sec (-A) sin (-A) cosec (-A) tan (-A) cot (-A)
= = = = = =
cos A sec A -sin A -cosec A -tan A -cot A
สูตรเอกลักษณตรีโกณมิติ 1. sin (A ± B) = sin A cos B ± cos A sin B cos (A ± B) = cos A cos B m sin A sin B A ± tan B tan (A ± B) = 1tan m tan A tan B
2. sin 2A
มุมบวก/ลบกัน
= =
2 sin A cos A 2 tan A 1 + tan 2 A cos 2A = cos2 A - sin2 A = 2 cos2 A - 1 มุม 2 เทา = 1 - 2 sin2 A 2 = 1 - tan 2 A 1 + tan A 2 tan A tan 2A = 1 - tan 2 A A 3. sin A2 = ± 1 - cos 2 A ครึ่งมุม cos A2 = ± 1 + cos 2 A tan A2 = ± 11 -+ cos cos A 4. sin 3A = 3 sin A - 4 sin3 A cos 3A = 4 cos3 A - 3 cos A มุม 3 เทา 3 A tan 3A = 3 tan A - tan 2 1 - 3 tan A 5. 2 sin A cos B = sin (A + B) + sin (A - B) 2 cos A sin B = sin (A + B) - sin (A - B) ฟงกชันคูณกัน -2 cos A cos B = cos (A + B) + cos (A - B)
คณิตศาสตร (114)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
6. sin A + sin B = 2 sin A 2+ B cos A 2- B sin A - sin B = 2 cos A 2+ B sin A 2- B cos A + cos B = 2 cos A 2+ B cos A 2- B
ฟงกชันบวก/ลบกัน
cos A - cos B = -2 sin A 2+ B sin A 2- B 7. คาของฟงกชันตรีโกณมิติของมุมที่นาสนใจ ฟงกชัน sin θ cos θ tan θ
มุม θ° (เรเดียน) 36° 72°
15° 3 -1 2 2 3 +1 2 2 3 -1 3 +1 หรือ 2 - 3
10 - 2 5 4 5 +1 4
10 + 2 5 4 5 -1 4
10 - 2 5 5 +1
10 + 2 5 5 -1
อัตราสวนตรีโกณมิติของรูปสามเหลี่ยมที่ไมใชสามเหลี่ยมมุมฉาก 1. Law of cosine C a2 = b2 + c2 - 2bc cos A b a b2 = c2 + a2 - 2ac cos B A B c c2 = a2 + b2 - 2ab cos C
2. Law of sine
1 2 1 2
22 21 °
2- 2 2+ 2
2- 2 2+ 2 หรือ 3 - 1
2 c2 - a 2 cos A = b +2bc 2 a 2 - b2 cos B = c + 2ac 2 b2 - c2 cos C = a +2ab
sin A = sin B = sin C a b c b c a sin A = sin B = sin C พื้นที่ ∆ = 12 ab sin C = 12 ac sin B = 12 bc sin A
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (115)
ตัวผกผันของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชัน
โดเมน
y = arcsin x
x ∈ [-1, 1]
y = arctan x
x∈R
y = arccosec x
x ∈ (-∞, 1] U [1, ∞)
y = arccos x y = arccot x
x ∈ [-1, 1] x∈R
2 y ∈ - π2 , 0 U 0, π2 y ∈ [0, π] y ∈ (0, π)
y = arcsec x
x ∈ (-∞, 1] U [1, ∞)
y ∈ 0, π2 U π2 , π
ตัวอยางที่ 1 จงหาคาของ 1) arcsin (0) = ....................
3) arccos
2 2
= ....................
5) arcsin -12 = .................... ตัวอยางที่ 2 จงเติมชองวางใหถูกตอง 1) arcsin 12 = arccosec .......... 2) arccos -53 3) arctan 12 5
y ∈ - π2 , y ∈ - π2 ,
π
2
π
2) arcsin 12
= ....................
4) arccos - 23
= ....................
6) arctan (-1)
= ....................
= arccos ..........
= arcsec ..........
= arccot ..........
= arccot ..........
= arcsec ..........
จงเติมชองวางใหถูกตอง
ตัวอยางที่ 3
1) sin arcsin 12
3) sin (arctan (2))
5) cos arcsin - 22
ตัวอยางที่ 4
เรนจ
= ....................
2) sin arcsin 23
= ....................
4) sec (arccosec ( 2 )) = ....................
= ....................
6) arccos tan - 54π = ....................
= ....................
จงเติมชองวางใหถูกตอง
4 1) sin arcsin 12 13 + arcsin 5
= ....................
คณิตศาสตร (116)_____________________________
2) sec 2 arcsin 1 = .................. 3
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
แบบทดสอบ x แลว x มีคาเทาใด (ตอบ 2) 1 - cot 25o 2. ถา cos θ - sin θ = 35 แลวคาของ sin 2θ เทากับขอใดตอไปนี้ 4 9 1) 13 2) 13 * 3) 94 4) 2 1 A cos A 2 3. ถา sin sin B = 3 และ cos B = 2 แลว tan B มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 3) 1 4) 1) 4 *2) 32
1. ถา 1 – cot 20° =
13 9
2 3 4. ถา sin 15° + sin 55° = x และ cos 15° + cos 55° = y แลว (x + y)2 - 2xy เทากับขอใดตอไปนี้ *1) 4 cos2 20° 2) 2 cos2 20° 3) 4 cos2 40° 4) 2 cos2 40° 5. ถา
sin 2 3A
*1) 14
sin 2 A
6. คาของ
1) -1
−
cos 2 3A cos 2 A
=2
แลว cos 2A มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
2) 12
sin 30o sin10o
−
cos 30o cos10o
3) 1 2
4)
1 3
เทากับขอใดตอไปนี้
2) 1
* 3) 2
4) -2
7. ถา (sinθ + cos θ)2 = 32 เมื่อ 0 ≤ θ ≤ π4 แลว arcos(tan 3 θ) มีคาเทาใด (ตอบ 0) 8. ถา arcsin (5x) + arcsin (x) = π2 แลวคาของ tan (arcsin x) เทากับขอใดตอไปนี้ *1) 51 4) 12 2) 13 3) 1 3 π แลวคาของ sin π เทากับขอใด 9. ให -1 ≤ x ≤ 1 เปนจํานวนจริงซึ่ง arccos x - arcsin x = 2552 2552 ตอไปนี้ 1) 2x *2) 1 - 2x2 3) 2x2 - 1 4) -2x
10. ถา arccos x - arcsin x = π6 แลว arccos x - arctan 2x มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ π 1) 12 2) 512π 3) 712π 4) 1112π 11. sec 12 arcsin 35 + arccos 35 + tan 12 arcsin 45 + arccos 54 มีคาเทากับขอใด 1) 2 2) 3 * 3) 1 + 2 4) 2 + 3 โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (117)
π 12. กําหนดให arccos 54 + arcsin 12 13 + x = 2 แลว tan x มีคาเทากับเทาใด 6 6 1) 16 2) 63 * 3) - 16 4) - 63 63 63 arctan 3 13. คาของ sin 2 4 + cos 2 arcsin 53 เทากับขอใดตอไปนี้ 6 6 7 7 1) 1 + 25 2) 1 + 25 *3) 1 + 25 4) 1 + 25 10 3 10 3 14. ถา arctan x = arctan 14 - 2 arctan 12 แลว sin (180° + arctan x) มีคาเทากับขอใด *1) 13 2) 16 3) - 13 4) - 16 5 17 5 17 5 17 5 17 15. ถา a และ b เปนคําตอบของสมการ sin (2 arcsin x) = x โดยที่ a ≠ 0, b ≠ 0 และ a ≠ b แลว |sin arctan (ab)| เทากับเทาใด (ตอบ 0.6) 16. ให A เปนเซตคําตอบของสมการ cos (2 arcsin x) + 2 = 4 sin2 (arccos x) ขอใดตอไปนี้คือ ผลคูณของ สมาชิกในเซต A 1) - 14 *2) - 12 3) 14 4) 12
17. -sin2 1° + sin2 2° - sin2 3° + … - sin2 89° + sin2 90° มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 0.5) 18. กําหนดให 0° < α < 30° ถา sin2 (7α) - sin2 (5α) = sin (2α) sin (6α) แลว α เทากับขอใดตอไปนี้ *1) 10° 2) 15° 3) 20° 4) 25° 19. กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมซึ่งมี 2 sin A + 3 cos B = 4 และ 3 sin B + 2 cos A = 1 คาของ sin C เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 61 *2) 13 3) 12 4) 1 20. พิจารณาขอความตอไปนี้ เมื่อเอกภพสัมพัทธคือเซตของจํานวนจริง ข. ∀x sin 4 x + cos4 x = 1 - 12 sin2 2x ก. ∃x(cot 2x - cot x = 0)
คาความจริงของขอความ ก. และขอความ ข. เปนไปตามขอใดตอไปนี้ 1) ก. เปนจริง และ ข. เปนจริง 2) ก. เปนจริง และ ข. เปนเท็จ *3) ก. เปนเท็จ และ ข. เปนจริง 4) ก. เปนเท็จ และ ข. เปนเท็จ 21. กําหนดให x ∈ [ 0, 4π ] เซตคําตอบของสมการ cos x = 3 (1 - sin x) คือขอใดตอไปนี้ 1) π6 , 56π , 136π 2) 56π , π2 , 136π *3) π6 , π2 , 136π , 52π
4) π6 , 56π , π2 , 54π
คณิตศาสตร (118)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
22. กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมที่มีดาน AB ยาว 2 หนวย ถา BC3 + AC3 = 2BC + 2AC แลว cot C มีคาเทากับเทาใด *1) 1 2) 12 3) 1 4) 3 3 23. กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมที่มีมุม A เทากับ 60°, BC = 6 และ AC = 1 คาของ cos 2B เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 14 *4) 34 2) 12 3) 23 24. ถา A(1, 2) , B(4, 3) และ C(3, 5) เปนจุดยอดของสามเหลี่ยม ABC แลว sin B2 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 12
1 / 2
50 - 1 50
1 / 2
2) 12
1 / 2
50 + 1 50
1 / 2
50 + 1 * 4) 50 - 1 3) 2 50 2 50 25. รูปสามเหลี่ยม ABC มี a, b และ c เปนความยาวของดานตรงขามมุม A, Bและ C ตามลําดับ ถา cos B = 14 และ (a + b + c)(a - b + c) = 30 แลว ac มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ *1) 12 2) 20 3) 20 4) 40 5 3 26. กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยม ซึ่งมี ACˆ B = 60° ลากเสนตรงจากจุด A ไปพบดาน BC ที่จุด D โดย ทําให BAˆ D = 30° ถาระยะ BD ยาว 3 หนวย และระยะ AD ยาว 2 หนวยแลว ระยะ CD ยาวเทากับขอ ใดตอไปนี้ 1) 4 3 3 2) 5 3 3 3) 7 9 6 *4) 8 9 6 27. นายดํายืนอยูบนสนามแหงหนึ่งมองเห็นยอดเสาธงเปนมุมเงย 60° แตเมื่อเขาเดินตรงเขาไปหา เสาธงอีก 20 เมตร เขามองเห็นยอดเสาธงเปนมุมเงย 75° ในขณะที่เขามองเห็นยอดเสาธงเปนมุมเงย 60° นั้นเขายืน อยูหางจากเสาธงเทากับเทาใด 1) 10 2 + 32 3 2) 10 2 + 12 3 3) 10(2 + 2 3 ) *4) 10(2 + 3 )
28. ให A, B และ C เปนจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC และ Aˆ < Bˆ < Cˆ โดยที่ tan A ⋅ tan B ⋅ tan C = 3 + 2 3 และ tan B + tan C = 2 + 2 3 พิจารณาขอความตอไปนี้ ข. Cˆ = 512π ก. tan C = 2 + 3 ขอใดตอไปนีถ้ ูก *1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ผิด และ ข. ถูก 3) ก. ถูก และ ข. ผิด 4) ก. และ ข. ผิด
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (119)
29. ให θ เปนจํานวนจริง ซึ่งสอดคลองกับสมการ
1 + 1 + 1 + 1 = 7 แลว tan2 2θ tan 2θ cot 2θ sin 2θ cos2θ
มีคาเทาใด (ตอบ 8) 30. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. tan 14° + tan 76° = 2 cosec 28° ข. ถา x > 0 และ sin (2 arctan x) = 54 แลว x ∈ 13 , 3 ขอใดตอไปนีถ้ ูกตอง *1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ผิด และ ข. ถูก 3) ก. ถูก และ ข. ผิด 4) ก. และ ข. ผิด 31. กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมซึ่งมีดานตรงขามมุม Aˆ , Bˆ และ Cˆ ยาว 2a, 3a, 4a ตามลําดับ ถา sin A = k แลว cot B + cot C มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1 1 1) 6k 2) 6k * 3) 3k 4) k3
คณิตศาสตร (120)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
เวกเตอร (Vectors) บทนิยาม ปริมาณที่มีแตขนาดเพียงอยางเดียว เรียกวา ปริมาณสเกลาร (scalar quantity) สวนปริมาณ ที่มีทั้งขนาดและทิศทางเรียกวา ปริมาณเวกเตอร (vector quantity) หรือเรียกสั้นๆ วา เวกเตอร การเขียนสัญลักษณแทนเวกเตอร เวกเตอรจาก A ไป B อานวา เวกเตอร เอบี เขียนแทนดวย 1) รูปเรขาคณิต B A
2) AB (เรียก A วา จุดเริ่มตน (initial point) เรียก B วา จุดสิ้นสุด (terminal point) ของเวกเตอร) 3) ถาพิกัดของ A เปน (x1, y1) และ B เปน (x2, y2) แลว x - x v v AB = y 2 - y 1 = (x2 - x1) i + (y2 - y1) j 1 2 4) ถาพิกัดของ A เปน (x1, y1, z1) และ B เปน (x2, y2, z2) แลว x - x 1 2 v v v AB = y2 - y1 = (x2 - x1) i + (y2 - y1) j + (z2 - z1) k z2 - z1 v เมื่อ i เปนเวกเตอร 1 หนวย ในทิศ +x v j เปนเวกเตอร 1 หนวย ในทิศ +y v k เปนเวกเตอร 1 หนวย ในทิศ +z ขนาดของเวกเตอร | AB | แทน ความยาวของสวนของเสนตรง AB หรือ BA หรือ ขนาดของเวกเตอรนั่นเอง v v แลว | AB | = a 2 + b 2 1) ถา AB = a i + b j v v v 2) ถา AB = a i + b j + c k แลว | AB | = a 2 + b 2 + c 2
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (121)
การเทากัน และนิเสธของเวกเตอร บทนิยาม vu และ vv ขนานกัน ก็ตอเมื่อ เวกเตอรทั้งสองมีทิศทางเดียวกัน หรือทิศทางตรงกันขาม บทนิยาม vu = vv ก็ตอเมื่อ เวกเตอรทั้งสอง มีขนาดเทากัน และทิศทางเดียวกัน a1 a2 ถา b = b แลว a1 = a2 และ b1 = b2 1 2 a a 1 2 ถา b1 = b2 a1 = a2 และ b1 = b2 และ c1 = c2 c c 1 2 บทนิยาม นิเสธของ vu (negative of vu ) คือ เวกเตอรที่มีขนาดเทากับขนาดของ vu แตมีทิศทาง ตรงกันขามกับทิศทางของ vu เขียนแทนดวย - vu a -a a -a v v v v v v v - u = - b = -b = -a i - b j หรือ - u = - b = -b = -a i - b j - c k c -c เวกเตอรศูนย (zero vector)
0 v 0 v คือ เวกเตอรที่มีขนาดเปน 0 เขียนแทนดวย 0 = 0 หรือ 0 = 0 0
การบวกเวกเตอร ♥ เชิงเรขาคณิต vv
vu
♥
เชิงพีชคณิต
vu + vv vu
vv
vu vv
vv + vu
a 1 a 2 a1 + a 2 v v b1 + b2 = b1 + b2 = (a1 + a2) i + (b1 + b2) j a a a + a 2 1 2 1 v b + b = b + b = (a + a ) vi + (b + b ) vj + (c + c ) k 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 c c c + c 1 2 2 1
คณิตศาสตร (122)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
การลบเวกเตอร หมายถึง การบวกเวกเตอรดวยนิเสธการบวกของเวกเตอรตัวลบ เชน vu - vv = vu + ( vu - vv ) ♥ เชิงเรขาคณิต vu - vu vu
vv ♥
เชิงพีชคณิต
- vv
u - vv = vu + (-vv )
- vv
a1 a 2 a1 - a 2 v v = (a - a ) i + (b - b ) j - = 1 2 1 2 b1 b2 b1 - b2 a a a - a 2 1 2 1 v b - b = b - b = (a - a ) vi + (b + b ) vj + (c - c ) k 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 c c c - c 2 1 1 2
การคูณเวกเตอร 1. การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร ka 1 5 × 1 5 a k b = kb เชน 5 2 = 5 × 2 = 10 kc 3 5 × 3 15 c v v ให u ≠ 0 และ a เปนจํานวนจริง v v v ♥ ถา a > 0 แลว a u คือ เวกเตอรที่มีทิศทางเดียวกับ u และมีขนาดเทากับ a เทาของ u v v v ♥ ถา a < 0 แลว a u คือ เวกเตอรที่มีทิศตรงขามกับ u และมีขนาดเทากับ |a| เทาของ u v v ♥ ถา a = 0 แลว a u = 0 เชน 2 vu คือเวกเตอรที่มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร vu และมีขนาดเปน 2 เทาของเวกเตอร -3 vu คือเวกเตอรที่มีทิศตรงขามกับเวกเตอร vu และมีขนาดเปน 3 เทาของเวกเตอร v v ทฤษฎีบทที่ 1 ให vu ≠ 0 และ vv ≠ 0 vu ขนานกับ vv ก็ตอเมื่อ มีจํานวนจริง a ≠ 0 ซึ่งทําให vu = a vv v v ทฤษฎีบทที่ 2 ให vu ≠ 0 และ vv ≠ 0 และ vu ไมขนานกับ vv จะไดวา v ถา a vu + b vv = 0 แลว a = 0 และ b = 0
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
vu vu
_____________________________ คณิตศาสตร (123)
เวกเตอรหนึ่งหนวย (unit vector) คือ เวกเตอรที่มีขนาดหนึ่งหนวย v เวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร vu คือเวกเตอร |vuu| v เวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร vu คือเวกเตอร - |vuu| v v v เชน กําหนดให vu = 3 i - 4 j - k จะได | vu | = 3 2 + 4 2 + (-1) 2 = v v v v 3 ดังนั้น เวกเตอรหนึ่งหนวยที่มีทิศทางเดียวกับ u คือ คือ i - 4 j - k 26 v v v หรือ 3 i - 4 j - 1 k 26 26 26 2. การคูณเวกเตอรดวยเวกเตอร (ผลคูณเชิงสเกลาร (dot product)) a a 1 2 vu ⋅ vv = b ⋅ b = a a + b b + c c 1 2 1 2 12 1 2 c c 1 2 vu ⋅ vv = | vu || vv | cos θ เมื่อ θ เปนมุมระหวาง vu และ vv เมื่อ vu และ | vu + vv |2 = | vu |2 + 2 vu ⋅ vv + | vv |2 | vu - vv |2 = | vu |2 - 2 vu ⋅ vv + | vv |2 สมบัติที่สําคัญของผลคูณเชิงสเกลาร 1. ให vu , vv และ wv เปนเวกเตอรใดๆ v v v v ♥ u⋅v = v⋅u v v v v v v v ♥ u ⋅( v + w) = u ⋅ v + u ⋅ w v v v v v v ♥ a( u ⋅ v ) = (a u ) ⋅ v = u ⋅ (a v ) v v ♥ 0⋅u =0 v v v v ♥ u ⋅ u = u 2 = | u |2 v v v v v v ♥ i ⋅ i = k⋅k = j ⋅ j =1 v v v v v v ♥ i ⋅ j = i ⋅k = j ⋅k =0 2. ให vu , vv เปนเวกเตอรที่ไมใชเวกเตอรศูนย เวกเตอร vu ตั้งฉากกับเวกเตอร
คณิตศาสตร (124)_____________________________
26
vv มีจุดเริ่มตนเดียวกัน
vv ก็ตอเมื่อ vu ⋅ vv = 0
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
3. การคูณเวกเตอรดวยเวกเตอร (ผลคูณเชิงเวกเตอร (cross product)) vu × vv อานวา เวกเตอรยู ครอส เวกเตอรวี (หาไดเฉพาะเวกเตอร 3 มิติเทานั้น) a b - a b a a 3 2 2 3 1 2 ถา vu = b1 , vv = b2 แลว vu × vv = a3b1 - a1b3 c c 1 2 a1b2 - a 2b1 a 2 a 3 v a 3 a1 v vu × vv = b b i + b b j + 2 3 3 1
a2 v b2 k
| vu × vv | = | vu || vv | sin θ = พืน้ ที่รูปสี่เหลี่ยมดานขนานที่มี vu และ vv เปนดานของรูปสี่เหลี่ยมนั้น
vv
vu
vr
a1 b1
ให vu , vv , vr เปนดานของทรงสี่เหลี่ยมดานขนานแลว ปริมาตรของสี่เหลี่ยมดานขนานทรงตัน = | vu ⋅ ( vv × vr )|
vv vu
a1 โคไซนแสดงทิศทาง (Direction Cosines) ถากําหนดจุด P(a1, a2, a3) จะได OP = a2 a3
cos α =
a1
a 12 + a 22 + a 23
, cos β =
a2
a 12 + a 22 + a 23
, cos γ =
a3
a 12 + a 22 + a 23
α, β, γ
คือ มุมที่ OP ทํากับแกน x, y, z ตามลําดับ เรียก cos α, cos β, cos γ วา “โคไซนระบุทิศทางของ OP ”
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (125)
แบบฝกหัด 1. กําหนดให ABC เปนสามเหลี่ยมใดๆ และ E เปนจุดที่ทําให CE = 2 BA ถา BE = a CB + b CA เมื่อ a, b เปนคาคงตัวแลว b - a คือคาในขอใด 1) -1 2) 2 3) 3 *4) 5 2. กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมีสมบัติวา 5| AB | = | BC | + | CA | ถา M และ N เปนจุดแบงครึ่ง ดาน BC และ AC ตามลําดับ แลวพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. MN = 12 ( BC - AC ) ข. AM ⋅ BN = 0
ขอใดถูก 1) ก. และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 3. กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมที่มี D เปนจุดบนดาน AC และ F เปนจุดบนดาน BC ถา AD = 14 AC , BF = 13 BC และ DF = a AB + b BC แลว ab มีคาเทาใด (ตอบ 9)
4. กําหนดให ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน, M เปนจุดบนดาน AD ซึ่ง AM = 51 AD และ N เปนจุด บนเสนทแยงมุม AC ซึ่ง AN = 61 AC ถา MN = a AB + b AD แลว a + b เทากับขอใดตอไปนี้ 2 2) 51 3) 13 4) 1 *1) 12 5. ให A, B และ C เปนจุดยอดของรูปสามเหลี่ยมใดๆ พิจารณาขอความตอไปนี้ v ก. AB + BC + CA = 0 ข. (BC)2 ≤ (CA)2 + (AB)2 ขอใดถูก 1) ก. และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 6. กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา และ D เปนจุดบนดาน DC ซึ่งทําให | BD | : | BC | = 1 : 3 พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. 3AD = 2AB + BC ข. AD ⋅ BC = - 16 | BC |2
ขอใดถูก 1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด *3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 7. ให A, B และ C เปนจุดสามจุดที่ไมอยูบนเสนตรงเดียวกัน และ D เปนจุดบนเสนตรง BC ที่ทําให BD : DC = 2 : 1 ถา | AD |2 = a| AB |2 + b| AC |2 + c| AB ⋅ AC | โดยที่ a, b และ c เปนจํานวนจริง และ AB ⋅ AC ≠ 0 แลว a2 + b2 + c2 มีคาเทากับขอใด 1) 31 2) 32 3) 10 *4) 11 81 81 27 27
คณิตศาสตร (126)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
v v v v 8. ให vu = i + 3 j , vv = 2 i + j ถา θ เปนมุมระหวาง ( vu + vv ) และ ( vu - vv ) แลว cos θ มีคาเทากับขอใด *1) 1 2) 2 3) 51 4) 52 5 5 9. ถา | vu + vv | = 5 2 และ | vu - vv | = 26 แลว vu ⋅ vv เทากับขอใด 1) 3 *2) 6 3) 8 4) 12 v v v v v v 10. ถา u และ v ทํามุมกัน 60° และ | u + v | = 37 , | u - v | = 13 แลว | vu | + | vv | มีคาเทากับขอใด 1) 5 *2) 7 3) 37 4) 50 v v 11. พิจารณาขอความตอไปนี้ เมื่อ u และ v เปนเวกเตอร v ก. ถา | vu | = | vv | ≠ 0 แลว ( vu - vv )( vu + vv ) = 0 ข. ถา |2 vu + vv | = | vv | แลว | vu | ⋅ ( vu + vv ) = 0 ขอใดตอไปนีถ้ ูกตอง 1) ก. และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด v v 12. กําหนดให u และ v เปนเวกเตอรที่มีขนาดหนึ่งหนวย ถาเวกเตอร vu + 2 vv ตั้งฉากกับเวกเตอร 2 vu + vv แลว vu ⋅ vv เทากับขอใดตอไปนี้ 2) 0 3) 51 4) 53 *1) - 54 13. กําหนดให vu และ vv เปนเวกเตอรที่ไมเทากับเวกเตอรศูนยซึ่ง vu ตั้งฉากกับ vv และ vu + vv ตั้งฉากกับ vu - vv พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. | vu | = | vv | ข. vu + 2 vv ตั้งฉากกับ 2 vu - vv
ขอใดตอไปนี้เปนจริง *1) ก. และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. และ ข. ผิด 14. กําหนดให vu และ vv เปนเวกเตอรที่มีขนาดหนึ่งหนวย ถาเวกเตอร 3 vu + vv ตั้งฉากกับเวกเตอร vu + 3 vv แลวเวกเตอร 5 vu - vv มีขนาดเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 3 หนวย 2) 3 2 หนวย 3) 4 หนวย *4) 4 2 หนวย r r r r r v v v v v v 15. กําหนดให u และ v เปนเวกเตอรซึ่ง | u ⋅ v | ≠ | u || v | ถา a(v − 2u) + 3u = b(2u + v) แลวคาของ a อยูในชวงใดตอไปนี้ 1) 0, 12 *2) 12 , 1 3) 0, 32 4) 32, 1
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (127)
16. กําหนดให vu และ vv ไมเปนเวกเตอรและ | vu + vv | = | vu - vv | ถา | vv | = 1 | vu | เปนมุม 3 v v v v ระหวางเวกเตอร u + v และเวกเตอร u - v เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 30° 2) 45° *3) 60° 4) 90° r r r r r r r r r r 17. ให A , B และ C เปนเวกเตอร ซึ่ง | A | = 3, | B | = 2 และ | C | = 1 ถา A + B + 4 C = 0 แลว r r r r r r A ⋅ B + B ⋅ C + C ⋅ A มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 2) -1 *1) - 52 3) 0 4) 12 v v 18. กําหนดให P(-8, 5), Q(-15, -19), R(1, -7) เปนจุดบนระนาบ ถา vv = a i + b j (a, b เปนจํานวน จริง) เปนเวกเตอรซึ่งมีทิศทางขนานกับเสนตรงซึ่งแบงครึ่งมุม QPˆR แลว ab มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 2 2 3) 11 *4) - 11 1) 2 2) -2 v v v v 19. กําหนดให vu = 3 i + 4 j ถา wv = a i + b j โดยที่ wv มีทิศทางเดียวกันกับ vu และ | wv | = 10 แลว a + b เทากับเทาใด (ตอบ 14) v v v 20. กําหนดให vu , vv และ wv เปนเวกเตอรที่สอดคลองกับสมการ vu + 5 vv - 2 wv = 0 โดยที่ vu = 3 i + 4 j และ vu ตั้งฉากกับ vv ถา θ เปนมุมระหวาง vu และ wv แลวคาของ | wv |cos θ เทากับเทาใด (ตอบ 2.5) 99 v v 21. ถา vvn = 1n i + 1 - 12 j เมื่อ n = 1, 2, 3, ..., 99 แลวคาของ ∑ | vv n +1 - vv n | อยูในชวงใด n n =1 1) (1, 1.2) 2) (1.2, 1.4) *3) (1.4, 1.6) 4) (1.6, 1.8) 1 5 1 22. กําหนดใหเวกเตอร 4 ตั้งฉากกับเวกเตอร -8a และ 3 = b 4 + c -8a ถา θ เปนมุมระหวาง a เวกเตอร 0 และ cb แลว cos2 θ เทากับเทาใด (ตอบ 0.8) 23. กําหนดทรงสี่เหลี่ยมดานขนาน มีจุดยอดอยูที่จุด O(0, 0, 0), A(1, 5, 7), B(2a, -b, -1) และ C(a, 3b, 2) โดยที่ a และ b เปนจํานวนเต็ม ถา OA ตั้งฉากกับฐานที่ประกอบดวย OB และ OC และ θ เปนมุม ระหวาง OB และ OC แลวขอใดตอไปนี้ถูก 1) sin θ = 5 3 7 2) | OB || OC | = 21 3) พื้นที่ฐานของทรงสี่เหลี่ยมดานขนานเทากับ 5 2 3 ตารางหนวย *4) ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมดานขนานเทากับ 75 ลูกบาศกหนวย
คณิตศาสตร (128)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
vu = vi + 3vk vv = 2 j + xvk เมื่อ x เปนจํานวนจริง v v v wv = - 3 i + j - k ถา vu , vv และ wv อยูในระนาบเดียวกัน แลว x มีคาเทาใด 1) -12 2) -8 3) 8 *4) 16 v v v v v v v 25. ให u = a i + b j + 2 k = a และ v = 2a i - 3b j โดยที่ a, b เปนจํานวนเต็มบวก และ θ เปนมุม ระหวาง vu และ vv ถา | vu | = 3 และ cos θ = 13 แลว vu × vv มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ v v v v v v 2) - 6 i - 8 j + 10 k *1) 6 i + 8 j - 10 k v v v v v v 3) 12 i + 4 j - 10 k 4) - 12 i - 4 j + 10 k
24. กําหนดให
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (129)
จํานวนเชิงซอน (Complex) 1. จํานวนเชิงซอน
เซต C = {(a, b)| a, b ∈ R} จะเรียกวา เซตของจํานวนเชิงซอน ก็ตอเมื่อสําหรับทุกๆ สมาชิก (a, b) และ (c, d) ใน C 1. (a, b) = (c, d) ก็ตอเมื่อ a = c และ b = d 2. (a, b) + (c, d) = (a + c, b + d) 3. (a, b) ⋅ (c, d) = (ac - bd, ad + bc) จํานวนเชิงซอน (a, b) นิยมเขียนแทนดวย a + bi เรียก a วา สวนจริง และเรียก b วา สวนจินตภาพ ขอสังเกต 1. c(a, b) = (ca, cb) 2. i2 = -1, i3 = -i, i4 = 1 สังยุคของจํานวนเชิงซอน กําหนดใหจํานวนเชิงซอน z = a + bi นิยามสังยุคของ z แทนดวย z คือ z = a - bi สมบัติ 1. (a + bi)(a - bi) = a2 + b2 2. z1 + z 2 = z1 + z 2 3. z1 - z2 = z1 - z 2 4. z1 ⋅ z 2 = z1 ⋅ z 2 Z z 5. z 1 = z1 โดยที่ z 2 ≠ 0 2 2 6. z + z = 2Re(z) เมื่อ Re(z) คือ สวนจริงของ z 7. z - z = 2Im(z) เมื่อ Im(z) คือ สวนจินตภาพของ z 8. z = z
คณิตศาสตร (130)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
คาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน กําหนดใหจํานวนเชิงซอน z = a + bi นิยามคาสัมบูรณของ z แทนดวย |z| คือ |z| = สมบัติ 1. z z = |z|2 2. |z| = |-z| 3. |z1z2| = |z1||z2| 4. zz1 = zz1 , z2 ≠ 0 2 2 1 5. |z |= |z|-1 6. |z| = | z | 7. |z1 + z2| ≤ |z1| + |z2| 8. |z1 - z2| ≥ ||z1| - |z2||
a 2 + b2
2. จํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้ว
ให z = a + bi โดยที่ z ≠ 0 และ θ เปนมุมบวกที่เล็กที่สุดซึ่ง tan θ = ba จะไดวา รูปเชิงขั้วของ z คือ z = |z|(cos θ + i sin θ) เรียก θ วา อารกิวเมนต (argument) ของ z การคูณและการหารจํานวนเชิงซอนในรูปเชิงขั้ว กําหนดให z1, z2 เปนจํานวนเชิงซอนที่ไมใชศูนย โดย z1 = |z1|(cos θ1 + i sin θ1) และ z2 = |z2|(cos θ2 + i sin θ2) จะไดวา 1. z1z2 = |z1||z2|(cos(θ1 + θ2) + i sin (θ1 + θ2)) z |z | 2. z 1 = |z1| (cos(θ1 - θ2) + i sin(θ1 - θ2)) 2 2 3. z1n = |z1|n (cos nθ1 + i sin nθ1) การแกสมการจํานวนเชิงซอน สําหรับจํานวนเชิงซอน z = |z|(cos θ + i sin θ) เมื่อ n ≥ 2 จะไดวา n z = n |z| cos θ + 2kπ + i sin θ + 2kπ เมื่อ k = 0, 1, 2, ..., n - 1 n n กําหนดให f(x) = anxn + an-1 xn-1 + ... + a1x + a0 โดยที่ a0, a1, a2, ..., an ∈ R และ an ≠ 0 จะไดวา ถา f(z) = 0 แลว f( z ) = 0 ดวย นั่นคือ ถา z เปนคําตอบของสมการแลว z จะเปนคําตอบของสมการดวย
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (131)
แบบฝกหัด 1. กําหนดให S เปนเซตคําตอบของสมการ z2 + z + 1 = 0 เมื่อ z เปนจํานวนเชิงซอน เซตในขอใดตอไปนี้ เทากับเซต S 1) {-cos 120° - i sin 60°, cos 60° + i sin 60°} 2) {cos 120° + i sin 60°, -cos 60° + i sin 60°} 3) {-cos 120° - i sin 120°, -cos 60° + i sin 60°} 4) {cos 120° + i sin 120°, -cos 60° - i sin 60°} 2. กําหนดให z1 และ z2 เปนจํานวนเชิงซอนซึ่ง |z1 + z2|2 = 5 และ |z1 - z2|2 = 1 คาของ |z1|2 + |z2|2 เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 1 2) 2 3) 3 4) 4 2 3. กําหนดให z เปนจํานวนเชิงซอนที่สอดคลองกับสมการ z4 + 1 = 0 คาของ z + 1z เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 1 2) 2 3) 3 4) 4 4. กําหนดให z1,z2 เปนจํานวนเชิงซอนซึ่ง |z1 + z2| = 3 และ z1 ⋅ z2 = 3 + 4i คาของ |z1|2 + |z2|2 เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 3 2) 4 3) 5 4) 6 3 2 5. กําหนดให z เปนจํานวนเชิงซอนที่สอดคลองกับ z - 2z + 2z = 0 และ z ≠ 0 ถาอารกิวเมนตของ z อยู 4 ในชวง 0, π2 แลว z 2 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ ( z) 2) 1 - i 3) 1 + i 4) 2i 1) -2i 6. กําหนดให w, z เปนจํานวนเชิงซอนซึ่ง w = z - 2i และ |w|2 = z + 6 ถาอารกิวเมนตของ w อยู ในชวง 0, π2 และ w = a + bi เมื่อ a, b เปนจํานวนจริง แลว a + b มีคาเทาใด 1) 2 2) 4 3) 6 4) 8
เฉลย 1. 4)
2. 3)
3. 2)
4. 1)
5. 1)
6. 2)
คณิตศาสตร (132)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
กําหนดการเชิงเสน (Linear Programing) 1. กราฟอสมการเชิงเสน 1. วาดกราฟสมการเชิงเสน (โดยหาจุดที่สอดคลองกับสมการเชิงเสนสองจุด มักใชจุดตัดแกน X และ จุดตัดแกน Y) 2. พิจารณาอาณาบริเวณ โดยใชจุดที่ไมอยูบนเสนกราฟทดสอบ (มักใชจุด (0, 0)) ถาจุดที่ทดสอบสอดคลองกับอสมการ จะไดกราฟเปนอาณาบริเวณที่มีจุดนั้นอยู ถาจุดที่ทดสอบขัดแยงกับอสมการ จะไดกราฟเปนอาณาบริเวณที่อยูตรงขามกับบริเวณที่มีจุดนั้นอยู 3. พิจารณาวาอสมการนั้นยอมรับการเทากันไดหรือไม โดยเลือกแทนดวยเสนทึบ หรือเสนประให สอดคลอง
2. กราฟของระบบอสมการเชิงเสน 1. วาดกราฟของอสมการเชิงเสน หาบริเวณที่สอดคลองในทุกๆ อสมการ (คืออาณาบริเวณที่ซอนทับกัน) เรียกอาณาบริเวณนั้นวา อาณาบริเวณที่หาคําตอบได แลวหาพิกัดของมุมของอาณาบริเวณที่หาคําตอบได 2. ในกรณีที่ระบบอสมการเชิงเสนมีหลายอสมการ ในการวาดกราฟของอสมการเชิงเสน อาจตองมีการ หาพิกัดของจุดตัดของสองเสนกอน
3. การแกปญหากําหนดการเชิงเสนโดยวิธีใชกราฟ - ปญหากําหนดการเชิงเสนประกอบดวย ฟงกชันจุดประสงค (Objective Function) และอสมการ ขอจํากัด (Constraint Inequalities) - ผลเฉลยของปญหาจะเปนพิกัดที่อยูในบริเวณที่หาคําตอบไดของระบบอสมการเชิงเสนที่ไดมาจากอสมการ ขอจํากัด โดยเปนพิกัดที่ทําใหฟงกชันมีคาสูงสุดหรือต่ําสุดตามฟงกชันจุดประสงค - โดยการใชการเลื่อนของกราฟฟงกชันจุดประสงคที่มีความชันคงที่ แตมีระยะตัดแกน Y ที่เปลี่ยนแปลง พบวาคําตอบที่ตองการจะอยูที่จุดมุมของอาณาบริเวณที่หาคําตอบได
4. สรุปขั้นตอนการแกปญหากําหนดการเชิงเสน 1. สมมติตัวแปร กําหนดฟงกชันจุดประสงค และอสมการขอจํากัด 2. วาดกราฟของระบบอสมการเชิงเสนที่ไดจากอสมการขอจํากัด แลวหาอาณาบริเวณที่หาคําตอบได 3. หาพิกัดของจุดมุมของอาณาบริเวณที่หาคําตอบได 4. นําจุดมุมทั้งหมดไปทดสอบกับฟงกชันจุดประสงค โดยเลือกพิกัดที่ทําใหคาของฟงกชันสูงสุดหรือต่ําสุด ตามที่ตองการ ขอสังเกต ในบางสถานการณปญหา ตองการคําตอบที่เปนจํานวนเต็ม แตถาพิกัดที่เปนคําตอบไมใชจํานวนเต็ม จะตองนําพิกัดที่เปนจํานวนเต็มที่อยูใกลเคียงกับจุดนั้น มาพิจารณาหาพิกัดที่ใหคาที่ดีที่สุดแทน
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (133)
แบบฝกหัด 1. ถา C เปนปริมาณที่มีคาขึ้นกับคาของตัวแปร x และ y ดวยความสัมพันธ C = 3x + 5y เมื่อ x, y เปนไป ตามเงื่อนไข 3x + 4y ≥ 5, x + 3y ≥ 3, x ≥ 0 และ y ≥ 0 แลวคาต่ําสุดของ C ตามเงื่อนไขขางตน มีคา เทากับขอใดตอไปนี้ 2) 29 3) 25 4) 27 1) 21 5 5 4 4 2. ถา P = 5x + 4y เมื่อ x และ y เปนไปตามเงื่อนไข x + 2y ≤ 40, 3x + 2y ≤ 60, x ≥ 0 และ y ≥ 0 แลวคาสูงสุดของ P เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 90 2) 100 3) 110 4) 115 3. กําหนดให a และ b เปนจํานวนจริงบวกซึ่ง a < b ถาคามากสุดและคานอยสุดของ P = 2x + y เมื่อ x, y เปนไปตามเงื่อนไข a ≤ x + 2y ≤ b, x ≥ 0 และ y ≥ 0 มีคาเทากับ 100 และ 10 ตามลําดับ แลว a + b มีคาเทาใด 1) 70 2) 50 3) 30 4) 10
เฉลย 1. 2)
2. 3)
3. 1)
คณิตศาสตร (134)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ลําดับและอนุกรม (Sequence and Series) 1. ลําดับ อนันต)
คือ ฟงกชันที่มีโดเมนเปนเซตของจํานวนนับ n ตัวแรก (ลําดับจํากัด) หรือเซตของจํานวนนับ (ลําดับ
การเขียนลําดับ เขียนได 3 แบบ คือ เขียนแบบเซต เขียนแบบแจกแจงเฉพาะคาของลําดับ เขียนแบบ พจนทั่วไป ลิมิตของลําดับ 1. ลําดับที่จะนํามาพิจารณาตองเปนลําดับอนันต 2. ลิมิตของลําดับ (an) มีคาเปนจํานวนจริง L เขียนแทนดวย lim a n = L ก็ตอเมื่อ เมื่อ n มีคา
n →∞ มากขึ้น an จะมีคาเขาใกลหรือเทากับ L ( lim a n = L ↔ ∀∈ > 0 ∃n0 ∈ N, n ≥ n0 → |an - L| < ∈) n →∞ 3. ถา lim a n = L (L ∈ R) แลว จะกลาววา ลําดับ an ลูเขา (converge) สู L และถาลําดับ (an) n →∞
ไมมีลิมิตแลวเราจะกลาววา ลําดับ an ลูออก (diverge) (ถาลิมิตของลําดับมีคาแลว จะมีไดคาเดียว) ทฤษฎีบท กําหนดให c เปนคาคงตัวใดๆ lim a n = A, lim b n = B 1. lim c = c
n →∞
n →∞
n →∞
2. lim c ⋅ an = cA n →∞
3. lim (an + bn) = A + B n →∞
4. lim (an ⋅ bn) = AB n →∞
5. lim k a n = k A (เมื่อ k เปนคาคงที่และทุกเทอมมีความหมาย) n →∞ a 6. lim bn = AB (เมื่อทุกเทอมมีความหมาย) n →∞ n หมายเหตุ p(x) โดยที่ p(x) และ q(x) เปนพหุนาม 1. ถา an = q(x) ถา deg p(x) = deg q(x) จะได lim a n = AB เมื่อ A และ B คือ สัมประสิทธิ์ของ x กําลังสูงสุด n →∞ ของพหุนาม p(x) และ q(x) ตามลําดับ ถา deg p(x) > deg q(x) จะได lim a n ลูออก n →∞
ถา deg p(x) < deg q(x) จะได lim a n = 0 n →∞ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (135)
2. ถา an อยูในรูปแบบของฟงกชันชี้กําลัง ใหดึงตัวรวมและใชขอเท็จจริงที่วา lim a n = 0 เมื่อ 0 < a < 1 n →∞
3. ใชคอนจูเกต ลําดับเลขคณิต คือ ลําดับที่มีผลตางของพจนที่ n + 1 กับพจนที่ n เปนคาคงที่เสมอ เรียกผลตางที่คงที่นี้วา ผลตางรวม แทนดวย d (d = an + 1 - an) พจนทั่วไปของลําดับเลขคณิต an = a1 + (n - 1)d ลําดับเรขาคณิต คือ ลําดับที่มีอัตราสวนของพจนที่ n + 1 กับพจนที่ n เปนคาคงที่เสมอ เรียกอัตราสวนที่คงที่นี้วา a อัตราสวนรวม แทนดวย r (r = an +1 ) n พจนทั่วไปของลําดับเรขาคณิต an = a1 ⋅ rn-1
2. อนุกรม คือลําดับของผลบวกยอย เรียก sn วาผลบวกยอย n พจนแรกของลําดับ (an)
N
อนุกรมที่เกิดจากลําดับจํากัด เรียก อนุกรมจํากัด sn = a1 + a2 + ... + an = ∑ a i i =1
∞
อนุกรมที่เกิดจากลําดับอนันต เรียก อนุกรมอนันต lim s n = s∞ = a1 + a2 + ... = ∑ a i n →∞ i =1
โดยถา lim s n มีคา จะกลาววาอนุกรมลูเขา และมีผลบวกเทากับคาของลิมิตนั้น และถา lim s n หา n →∞
คาไมไดจะกลาววาอนุกรมลูออก อนุกรมเลขคณิต ผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต อนุกรมเรขาคณิต ผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเรขาคณิต
n →∞
sn = n2 (2a1 + (n - 1)d) = n2 (a1 + an)
sn = ผลบวกอนันตพจนของอนุกรมเรขาคณิต lim s n = n →∞
a1 (1 - r n ) 1 - r เมื่อ r ≠ 1 ∞
∑ ai i =1
a = 1 -1 r ก็ตอเมื่อ |r| < 1
∞
lim s = ∑ a i ลูออก ก็ตอเมื่อ |r| ≥ 1 n →∞ n i =1 อนุกรมผสม ใชเทคนิคคูณตลอดดวย r อนุกรมที่อยูในรูปเศษสวนยอย ปรับแตละพจนใชอยูในรูปเศษสวนยอย
คณิตศาสตร (136)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
อนุกรมพี ∞
∑ 1p n =1 n
ลูเขา ก็ตอเมื่อ p > 1
∑ 1p n =1 n
ลูออก ก็ตอเมื่อ p ≤ 1
∞
สัญลักษณแทนการบวก n
1. ∑ c = nc 2. 3. 4. 5. 6.
i =1 n n ∑ cx i = c ∑ x i i =1 i =1 n n n ∑ (x i ± y i ) = ∑ x i ± ∑ y i i =1 i =1 i =1 n n(n + 1) ∑i = 2 i =1 n n(n + 1)(2n + 1) ∑ i2 = 6 i =1 n 2 n 3 ∑ i = ∑ i = 14 (n(n + 1))2 i =1 i =1
ทฤษฎีบท
∞
∞
1. ถา ∑ a n เปนอนุกรมลูเขา แลว lim a n = 0 หรือ ถา lim a n ≠ 0 แลว ∑ a n ลูออก n →∞ n →∞ n =1 n =1 ∞
∞
∞
2. ถา ∑ a n และ ∑ b n เปนอนุกรมลูเขา แลวสําหรับจํานวนจริง c, d ใดๆ จะไดวา ∑ (ca n ± db n ) n =1 n =1 i =1 ∞
∞
∞
n =1
n =1
เปนอนุกรมลูเขาดวย โดยที่ ∑ (ca n ± db n ) = c ∑ a n ± d ∑ b n 3. กําหนดให ∞
n =1 0 ≤ an ≤ bn จะไดวา ∞
ถา ∑ b n ลูเขา แลว ∑ a n จะลูเขาดวย n =1 ∞
n =1 ∞
ถา ∑ a n ลูออก แลว ∑ b n จะลูออกดวย n =1 n =1
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (137)
แบบฝกหัด 2 1. ถา lim n 2b + 1 = 1 แลวผลบวกของอนุกรม n →∞ 2n a - 1 1) 13 2) 23 a 2. กําหนดให an เปนลําดับที่สอดคลองกับ an + 2 n 2552 แลว ∑ a n n =1 1275 1) 2 - 1
∑ n = 1 ∞
n 2 +
ab
a2 b
3) 1
เทากับขอใดตอไปนี้ 4) หาคาไมได
= 2 สําหรับทุกจํานวนนับ n
10
ถา ∑ a n = 31 n =1
เทากับขอใดตอไปนี้ 2) 21276 - 1
3) 22551 - 1
4) 22552 - 1
∞
3. ถา a1, a2, a3, ... เปนลําดับเรขาคณิตซึ่ง ∑ a n = 4 แลวคามากที่สุดที่เปนไปไดของ a2 เทากับขอใด n =1
ตอไปนี้ 1) 4 2) 2 3) 1 4) หาคาไมไดเพราะ a2 มีคามากไดอยางไมมีขีดจํากัด 4. กําหนดแบบรูป 1, 1, 2, 1, 2, 3, 1, 2, 3, 4, 1, 2, 3, 4, 5, ... จํานวนในพจนที่ 5060 ของรูปแบบนี้มีคา เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 1 2) 10 3) 100 4) 1000 5. กําหนดให an เปนลําดับเลขคณิตที่สอดคลองกับเงื่อนไข lim an n- a1 = 5 ถา a9 + a5 = 100 n→∞ แลว a100 เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 500 2) 515 3) 520 4) หาไมไดเพราะขอมูลไมเพียงพอ n→∞
6. ถา A = lim
1) 0
มีคาเปนจํานวนจริงบวกแลว แลวคาของ A เทากับขอใดตอไปนี้ 2nk 1 + 8 + 27 + ... + n3 2) 2 3) 4 4) 8
∞
∞ 1 = A แลว ∑ 1 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 4 2 n n n n =2 n =2 2 2) 54 + A 3) 34 - A 1) 34 + A
7. ถา ∑
คณิตศาสตร (138)_____________________________
4) 54 - A
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
8. กําหนดให an เปนลําดับซึ่งสอดคลองกับเงื่อนไข a1 + a 1 = 1 สําหรับทุกจํานวนนับ n n n +1 ถา a1 + a2 + ... + a100 = 250 แลว |a2552 - 2.5| มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 2) 2 + 5 3) 25 4) 2 5 1) 1 + 5 9. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถาลําดับ an ลูเขา แลวอนุกรม ข. ถาอนุกรม
∞
∑ an n =1
ขอใดตอไปนีเ้ ปนจริง 1) ก. และ ข. ถูก 3) ก. ผิด และ ข. ถูก
∞
∑ an n =1
ลูเขา ∞
ลูเขา แลวอนุกรม ∑ 1 + ann ลูเขา n =1 2
2 2 10. ถา an เปนลําดับเลขคณิตซึ่ง lim a n + 1n - a n n → ∞
1) 2 11.
2
2) 2 2
2) ก. ถูก และ ข. ผิด 4) ก. และ ข. ผิด a -a = 4 แลว 17 2 9 มีคาเทาใด 3)
4)
2
lim 3n + 12n + 27n + ...+3 3n3 มีคาเทาใด n → ∞ 1 + 8 + 27 +...+ n 1) 6 2) 5 3) 4
2
2
4) 3
เฉลย 1. 2) 11. 3)
2. 2)
3. 3)
4. 2)
5. 2)
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
6. 4)
7. 3)
8. 3)
9. 4)
10. 1)
_____________________________ คณิตศาสตร (139)
แคลคูลัส (Calculus) 1. ลิมิตและความตอเนื่องของฟงกชัน เมื่อ x มีคาเขาใกลจํานวนจริง a ทางดานซายของเสนจํานวน (x < a) แลวคาของ f(x) เขาใกลจํานวน จริง L จะกลาววา L เปนลิมิตซายของ f ที่ a แทนดวยสัญลักษณ lim f(x) = L1 x →a
เมื่อ x มีคาเขาใกลจํานวนจริง a ทางดานขวาของเสนจํานวน (x > a) แลวคาของ f(x) เขาใกลจํานวน จริง L จะกลาววา L เปนลิมิตขวาของ f ที่ a แทนดวยสัญลักษณ lim f(x) = L2 x →a +
ถาลิมิตทางซายและลิมิตทางขวาของฟงกชัน f เทากัน และมีคาเทากับ L จะกลาววา ฟงกชัน f มีลิมิตเปน L ที่ a แทนดวยสัญลักษณ lim f(x) = L x→a
ถาลิมิตทางซายไมเทากับลิมิตทางขวา หรือลิมิตขางใดขางหนึ่งหาคาไมได จะกลาววา ฟงกชัน f ไมมีลิมิตที่ a ทฤษฎีบทของลิมิต กําหนดให a เปนจํานวนจริงใดๆ f และ g เปนฟงกชันที่มีลิมิตที่จุด a จะไดวา 1. lim c = c เมื่อ c เปนคาคงตัวใดๆ x →a
2. lim x = a x →a
3. lim x n = an เมื่อ n ∈ N x →a
4. lim cf(x) = c lim f(x) เมื่อ c เปนคาคงตัวใดๆ x →a
x →a
5. lim (f(x) ± g(x)) = lim f(x) x→a
±
x→a
lim g(x)
x→a
6. lim (f(x) ⋅ g(x)) = lim f(x) ⋅ lim g(x) x→a
x→a
x→a
lim f(x) x f(x) 7. lim g(x) = → a เมื่อ lim g(x) ≠ 0 lim g(x) x→a x → a
8. lim
x →a
x→a
(f(x)) n
(
x→ a
= lim f(x)
n
เมื่อ n ∈ N
9. lim n f(x) = n lim f(x) เมื่อ n ∈ N และ lim f(x) ≥ 0 x →a
x→a
n
n m
x→ a
10. lim (f(x)) m = lim f(x) x →a
(
x →a
เมื่อ n, m ∈ N และ lim f(x) ≥ 0
11. ถา f เปนฟงกชันพหุนาม นั่นคือ f(x) = เปนคาคงตัวโดย an ≠ 0 จะไดวา lim f(x) = f(a)
anxn
+
x →a n an-1x 1 + ...
+ a1x + a0 เมื่อ a0, a1, a2, ..., an
x →a
คณิตศาสตร (140)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
ตอไปนี้
ความตอเนื่องของฟงกชัน นิยาม ให a เปนจํานวนจริงใดๆ ฟงกชัน f เปนฟงกชันตอเนื่องที่จุด a ก็ตอเมื่อ ฟงกชัน f มีสมบัติ
1. lim f(x) หาคาได x →a
2. f(a) หาคาได 3. lim f(x) = f(a) x →a
2. อัตราการเปลี่ยนแปลงของฟงกชัน นิยาม ถา y = f(x) เปนฟงกชันใดๆ และ h เปนจํานวนจริงที่ไมใชศูนย อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x ในชวง x ถึง x + h คือ f(x + h)h - f(x) อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ใดๆ คือ lim f(x + h)h - f(x) h →0
3. อนุพันธของฟงกชัน
นิยาม ถา y = f(x) เปนฟงกชันที่มีโดเมนและเรนจเปนสับเซตของจํานวนจริง และ lim f(x + h)h - f(x) h→0 dy d หาคาได เรียกคาลิมิตที่ไดนี้วา อนุพันธของฟงกชัน f ที่ x แทนดวย f ′(x) , dx f(x) และ dx ทฤษฎีบทของอนุพันธ dc = 0 เมื่อ c คือ คาคงตัวใดๆ 1. dx 2. dx dx = 1 d xn = nxn-1 เมื่อ n เปนจํานวนจริงใดๆ 3. dx d [f(x) ± g(x)] = d f(x) ± d g(x) 4. dx dx dx d d 5. dx cf(x) = c dx f(x) เมื่อ c คือ คาคงตัวใดๆ d [f(x)g(x)] = f(x) d g(x) + g(x) d f(x) 6. dx dx dx d d d f(x) = g(x) dx f(x) - f(x) dx g(x) เมื่อ g(x) ≠ 0 7. dx g(x) (g(x))2 d gof(x) = d g(y) d f(x) เมื่อ y = f(x) (กฎลูกโซ (Chain rule)) 8. dx dy dx d [f(x)]n = n[f(x)]n-1 d f(x) 9. dx dx
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (141)
อนุพันธอันดับสูงของฟงกชัน นิยาม ถา f′(x) หาอนุพันธไดแลวจะเรียกอนุพันธของ f′(x) วา อนุพันธอันดับสองของ f แทนดวย f ″(x), d 2 y , d2 f(x) ในทํานองเดียวกันเราสามารถนิยามอนุพันธอันดับ 3, 4, ... ของฟงกชัน ตลอดจนกําหนด dx 2 dx 2 สัญลักษณไดโดยวิธีเดียวกัน การประยุกตของอนุพันธ ความชันของเสนสัมผัสโคง ถา f เปนสมการเสนโคง ความชันของเสนตรงที่สัมผัสเสนโคงที่จุด (a, f(a)) คือ f ′(a) ฟงกชันเพิ่มและฟงกชันลด กําหนดให f มีโดเมนเปน Df ฟงกชัน f เปนฟงกชันเพิ่มบน (a, b) ⊂ Df ถา f ′(c) > 0 ทุก c ∈ (a, b) และฟงกชัน f เปนฟงกชันลดบน (a, b) ⊂ Df ถา f ′(c) < 0 ทุก c ∈ (a, b) คาสุดขีดของฟงกชัน กําหนดให f มีโดเมนเปน Df ฟงกชัน f มีคาสูงสุดสัมพัทธที่จุด x = c ถามีชวง (a, b) ⊂ Df และ c ∈ (a, b) ซึ่ง f (c) > f(x) สําหรับ ทุกๆ x ในชวง (a, b) ที่ x ≠ c ฟงกชัน f มีคาต่ําสุดสัมพัทธที่จุด x = c ถามีชวง (a, b) ⊂ Df และ c ∈ (a, b) ซึ่ง f (c) < f(x) สําหรับ ทุกๆ x ในชวง (a, b) ที่ x ≠ c นิยาม ถา f ′(c) = 0 แลวเราจะเรียก c วา คาวิกฤตของฟงกชัน f และเรียกจุด (c, f(c)) วา จุดวิกฤตของ f ทฤษฎีบท กําหนดให f เปนฟงกชันตอเนื่องใดๆ บน (a, b) ⊂ Df และ c เปนคาวิกฤตของ f แลว ถา f ″(c) < 0 แลว f(c) เปนคาสูงสุดสัมพัทธ ถา f″(c) > 0 แลว f(c) เปนคาต่ําสุดสัมพัทธ โจทยปญหาคาสุดขีด ทําความเขาใจปญหาเพื่อสรางฟงกชัน f(x) โดยให f(x) เปนสิ่งที่โจทยตองการทราบ คาสุดขีด และตัวแปร x คือสิ่งที่สงผลตอคาสุดขีดนั้น
4. การอินทิเกรต นิยาม ฟงกชัน F เปนปฏิยานุพันธของฟงกชัน f เมื่อ F ′(x) = f(x) สําหรับทุกคา x ∈ Df ใช ∫ f(x)dx แทน F(x) + c เมื่อ c เปนคาคงตัวใดๆ และเรียก ∫ f(x)dx วา อินทิกรัลไมจํากัดเขตของฟงกชัน f ทฤษฎีบท 1. ∫ kdx = kx + c เมื่อ k และ c เปนคาคงตัว n +1 2. ∫ xndx = xn + 1 + c เมื่อ n ≠ -1 3. ∫ kf(x)dx = k∫ f(x)dx เมื่อ k เปนคาคงตัว 4. ∫ (f(x) ± g(x))dx = ∫ f(x)dx ± ∫ g(x)dx
คณิตศาสตร (142)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
อินทิกรัลจํากัดเขต นิยาม ให f เปนฟงกชันตอเนื่องบนชวง [a, b] ถา F เปนฟงกชันที่มีอนุพันธบนชวง [a, b] โดยที่ F ′(x) = f(x) แลว ∫
b
b f(x)dx a
= F(b) - F(a)
เรียก ∫ f(x)dx วา อินทิกรัลจํากัดเขตของฟงกชัน f บน [a, b] ใชสัญลักษณ F(x) ab แทน F(b) - F(a) a ทฤษฎีบท b
b
1. ∫ kf(x)dx = k ∫ f(x)dx เมื่อ k เปนคาคงตัว a a b
b
2. ∫ (f(x) ± g(x))dx = ∫ f(x)dx a a b
c
b
±
∫
b
a
g(x)dx
3. ∫ f(x)dx = ∫ f(x)dx + ∫ f(x)dx เมื่อ c ∈ (a, b) a a c b
a
4. ∫ f(x)dx = - ∫ f(x)dx a b พื้นที่ที่ปดลอมดวยเสนโคง นิยาม กําหนดใหฟงกชัน f(x) ตอเนื่องบน [a, b] พื้นที่ปดลอมดวยเสนโคงของ f(x) จาก x = a ถึง x = b หมายถึง พื้นที่ของบริเวณที่ลอมรอบดวยกราฟของ f แกน X เสนตรง x = a และเสนตรง x = b ทฤษฎีบท กําหนดใหฟงกชัน f ตอเนื่องบน [a, b] และ A เปนพื้นที่ที่ปดลอมดวยเสนโคงของ f จาก x = a ถึง x = b จะหาไดจากสูตรตอไปนี้ b
1. ถา f(x) ≥ 0 สําหรับทุก x ในชวง [a, b] และ A = ∫ f(x)dx a b a
2. ถา f(x) ≤ 0 สําหรับทุก x ในชวง [a, b] และ A = - ∫ f(x)dx
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (143)
แบบฝกหัด 1. กําหนดให A แทนพื้นที่ของอาณาบริเวณที่ปดลอมดวยเสนโคง y = 1 - x2 และแกน X 2 B แทนพื้นที่ของอาณาบริเวณที่ใตเสนโคง y = x4 เหนือแกน X จาก x = -c ถึง x = c คาของ c ที่ทําให A = B เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 2 2) 2 3) 2 2 4) 4 2. กําหนดให f(x) = x4 - 3x2 + 7 f เปนฟงกชันเพิ่มบนเซตในขอใดตอไปนี้ 1) (-3, -2) U (2, 3) 2) (-3, -2) U (1, 2) 3) (-1, 0) U (2, 3) 4) (-1, 0) U (1, 2) 3. ถา f′(x) = 12
1) 1
1 x
+
1 แลวคาของ lim f(1 + h) - f(1) เทากับขอใดตอไปนี้ h →0 f(4 + h) - f(4) x 3 3) 75 4) 51 2) 16 5 1
4. ถา f′(x) = 3x2 + x - 5 และ f(0) = 1 แลว ∫ f(x)dx มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ -1
2) 73 3) 23 4) 13 1) 53 5. ถา f, g และ h สอดคลองกับ f(1) = g(1) = h(1) = 1 และ f′(1) = g′(1) = h′(1) = 2 แลวคาของ (fg + h)′(1) เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 1 2) 2 3) 4 4) 6 6. เสนตรงซึ่งตัดตั้งฉากกับเสนสัมผัสของเสนโคง y = 2x3 - 1 ที่จุด x = 1 คือเสนตรงในขอใดตอไปนี้ x 1) 13x - 2y - 11 = 0 2) 13x + 2y - 15 = 0 3) 2x - 13y - 11 = 0 4) 2x + 13y - 15 = 0 7.
1
ถา f′(x) = x2 - 1 และ ∫ f(x)dx = 0 แลว |f(1)| มีคาเทากับเทาใด 0
1) 0.25
2) 0.50
3) 0.75
4) 1.00
8. ถา f(x) = ax2 + b x เมื่อ a และ b เปนจํานวนจริงที่ b ≠ 0 ถา 2f′(1) = f(1) แลว f'f(4) (9) มีคาเทาใด 1) 8 2) 12 3) 16 4) 20 9. กําหนดให y = f(x) เปนฟงกชันซึ่งมีคาสูงสุดที่ x = 1 ถา f"(x) = -4 ทุก x และ f(-1) + f(3) = 0 แลว f มี คาสูงสุดเทาใด 1) 38 2) 28 3) 18 4) 8
คณิตศาสตร (144)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
เฉลย 1. 2)
2. 3)
3. 2)
4. 2)
5. 4)
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
6. 4)
7. 1)
8. 2)
9. 4)
_____________________________ คณิตศาสตร (145)
วิธีเรียงสับเปลี่ยน วิธีจัดหมู และความนาจะเปน (Permutation, Combination, and Probability) 1. หลักการเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ กฎการบวก ถาการทํางานหนึ่งอยางแบงออกเปน n กรณียอยโดยในแตละกรณีเปนการทํางานที่เสร็จสิ้น จํานวนวิธีในการทํางานจะเทากับผลรวมของจํานวนวิธีของทุกกรณี กฎการคูณ 1. ถางานที่ทําแบงออกเปนสองขั้นตอน โดยงานขั้นตอนแรกเลือกทําได n1 วิธี และในแตละวิธีในการ เลือกทํางานอยางแรกนี้สามารถเลือกทํางานอยางที่สองได n2 วิธี จํานวนวิธีที่จะเลือกทํางานชิ้นนี้ คือ n1n2 วิธี 2. ถางานที่ทําแบงออกเปน k ขั้นตอน โดยงานขั้นตอนแรกเลือกทําได n1 วิธี และในแตละวิธีในการเลือก ทํางานอยางแรกนี้สามารถเลือกทํางานอยางที่สองได n2 วิธี ในแตละวิธีในการเลือกทํางานอยางที่สองสามารถ เลือกทํางานอยางที่สามได n3 วิธี ฯลฯ จํานวนวิธีที่จะเลือกทํางานชิ้นนี้ คือ n1n2n3 ... nk วิธี นิยาม กําหนดให n ∈ N n! = 1 × 2 × 3 × 4 × ... × n และ 0! = 1
2. วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู กฎขอที่ 1 กฎขอที่ 2 nP = n! r (n - r)! กฎขอที่ 3 กฎขอที่ 4
จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของสิ่งของ n สิ่งที่แตกตางกันทั้งหมด เทากับ n! จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของสิ่งของ n สิ่งที่แตกตางกันโดยนํามาเรียงแค r สิ่ง (r ≤ n) คือ จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมของสิ่งของ n สิ่งที่แตกตางกันทั้งหมด เทากับ (n - 1)! ถามีสิ่งของอยู n สิ่ง ในจํานวนนี้มี n1 สิ่งที่เหมือนกันอยูกลุมที่หนึ่ง n2 สิ่งที่เหมือนกันอยูกลุมที่สอง M
nk สิ่งที่เหมือนกันอยูกลุมที่ k โดยที่ n1 + n2 + ... + nk = n จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของสิ่งของทั้ง n สิ่ง เทากับ n !n n!! ... n ! 1 2 k
n กฎขอที่ 5 จํานวนวิธีเลือกสิ่งของ n สิ่งที่แตกตางกัน ที่ละ r สิ่ง (r ≤ n) เทากับ r = nCr =
n! (n - r)!r! เทคนิค
การนับจํานวนฟงกชัน, คอมพลีเมนท, การจัดเรียงของใหติดกันโดยการมัด
คณิตศาสตร (146)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
3. ความนาจะเปน การทดลองสุม คือ การทดลองใดๆ ซึ่งทราบวาผลลัพธอาจเปนอะไรไดบาง แตไมสามารถทํานายผล ลวงหนาได แซมเปลสเปซ คือ เซตที่มีสมาชิกเปนผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดของการทดลองสุม เหตุการณ คือ สับเซตของแซมเปลสเปซ ความนาจะเปนของเหตุการณ E แทนดวย P(E) = n(E) n(S) สมบัติบางประการของความนาจะเปน 1. 0 ≤ P(E) ≤ 1 2. P(φ) = 0 3. P(S) = 1 4. P(E1 U E2) = P(E1) + P(E2) - P(E1 I E2) 5. P(E1 U E2 U E3) = P(E1) + P(E2) + P(E3) - P(E1 I E2) - P(E1 I E3) - P(E2 I E3) + P(E1 I E2 I E3) 6. P(E) = 1 - P(E′)
4. ทฤษฎีบททวินาม n n n n n (a + b)n = 0 anb0 + 1 an-1b1 + 2 an-2b2 + ... + n - 1 a1bn-1 + n a0bn n เรียก r วาสัมประสิทธิ์ทวินาม ขอสังเกต 1. การกระจาย (a + b)n จะได n + 1 พจน 2. ในแตละพจนผลรวมของกําลังของ a และ b จะไดเทากับ n 3. พจนทั่วไปของการกระจาย (a + b)n
Tr+1 =
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
n n-r r r a b
_____________________________ คณิตศาสตร (147)
แบบฝกหัด 1. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4} และ B = {a, b, c} เซต S = {f|f : A → B เปนฟงกชันทั่วถึง} มีจํานวน สมาชิกเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 12 2) 24 3) 36 4) 39 2. คุณลุง คุณปา ลูกชาย และลูกสาว มาเยี่ยมครอบครัวเราซึ่งมี 4 คน คือ คุณพอ คุณแม ตัวฉัน และนองชาย ในการ จัดที่นั่งรอบโตะอาหารกลมที่มี 8 ที่นั่ง โดยใหคุณลุงนั่งติดกับคุณพอ คุณปานั่งติดกับคุณแม ลูกชายของคุณลุง นั่งติดกับนองชายของฉัน และลูกสาวของคุณลุงนั่งติดกับฉัน จะมีจํานวนวิธีจัดไดเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 96 วิธี 2) 192 วิธี 3) 288 วิธี 4) 384 วิธี 3. ขาวสารบรรจุถุงแลวกองหนึ่งประกอบดวย ขาวหอมมะลิ 4 ถุง ขาวเสาไห 3 ถุง ขาวขาวตาแหง 2 ถุง และ ขาวบัสมาตี 1 ถุง สุมหยิบขาวจากกองนี้มา 4 ถุง ความนาจะเปนที่จะไดขาวครบทุกชนิด เทากับขอใด ตอไปนี้ 4 3 2) 35 3) 52 4) 14 1) 35 4. กิตติและสมาน กับเพื่อนๆ รวม 7 คน ไปเที่ยวตางจังหวัดดวยกัน ในการคางแรมที่มีบานพัก 3 หลัง หลังแรกพักได 3 คน สวนหลังที่สองและหลังที่สามพักไดหลังละ 2 คน ซึ่งแตละหลังมีความแตกตางกัน พวกเขาจึงตกลงที่จะจับสลากวาใครจะไดพักที่บานหลังใด ความนาจะเปนที่กิตติและสมานจะไดพักบานหลัง เดียวกันในหลังที่หนึ่งหรือหลังที่สาม เทากับขอใดตอไปนี้ 4 5 8 2) 21 3) 21 4) 10 1) 21 21 5. กําหนดให n เปนจํานวนนับ ในการสุมหยิบเลข n จํานวนพรอมๆ กันจากเซต {1, 2, ..., 2n} ถาความนาจะเปน 1 แลว ความนาจะเปนที่จะไดเลขคูเพียง 1 จํานวนเทากับขอใดตอไปนี้ ที่จะไดเลขคูทั้งหมดเทากับ 20 1 3 9 11 2) 20 3) 20 4) 20 1) 20 6. ตองการสรางจํานวนคูบวก 4 หลัก จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 7, 8 โดยแตละจํานวนที่สรางขึ้นไมมีเลขโดดใน หลักใดที่ซ้ํากันเลย จะมีจํานวนวิธีที่สรางไดเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 180 2) 156 3) 144 4) 136 7. จํานวนเต็มที่มีคาตั้งแต 100 ถึง 999 ที่หารดวย 2 ลงตัว แตหารดวย 3 ไมลงตัว มีจํานวนเทากับขอใด ตอไปนี้ 1) 250 2) 283 3) 300 4) 303 8. ถุงใบหนึ่งบรรจุลูกกวาดรสสตรอเบอรี่ 5 ลูก รสชอคโกแลต 4 ลูก รสกาแฟและรสมินทอยางละ 2 ลูก หาก สุมหยิบลูกกวาดจากถุงใบนี้มา 3 ลูก ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกกวาดตางรสกันทั้งหมดเทากับขอใด ตอไปนี้ 57 58 59 60 2) 143 3) 143 4) 143 1) 143 คณิตศาสตร (148)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
9. กําหนดให A = {(0, n) | n = 1, 2, ..., 10} และ B = {(1, n) | n = 1, 2, ..., 10} ในการเลือกจุดสอง จุดที่แตกตางกันจากเซต A และอีกหนึ่งจุดจากเซต B เพื่อเปนจุดยอดของรูปสามเหลี่ยมบนระนาบ ความ นาจะเปนจะไดรูปสามเหลี่ยมที่มีพื้นที่ 1 ตารางหนวย เทากับขอใดตอไปนี้ 8 9 2) 45 3) 10 4) 11 1) 45 45 45 10. ในลิ้นชักมีถุงเทาสีขาว 4 คู สีดํา 3 คู และสีน้ําเงิน 2 คู แตไมไดจัดเรียงไวเปนคูๆ ถาสุมหยิบถุงเทามา 2 ขาง ความนาจะเปนที่จะไดถุงเทาสีเดียวกันเทากับขอใดตอไปนี้ 43 49 2) 23 3) 153 4) 153 1) 12 11. ถุงใบหนึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 5 ลูก สีเขียว 4 ลูก และสีเหลือง 3 ลูก ถาหยิบลูกแกวจากถุงทีละลูก 3 ครั้ง โดยไมใสคืน แลวความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกแกว ลูกที่หนึ่ง สอง และสาม เปนสีแดง สีเขียว และสีเหลือง ตามลําดับเทากับขอใดตอไปนี้ 1 1 3 3 1) 21 2) 22 3) 22 4) 25 12. ในการโยนลูกเตา 2 ลูกหนึ่งครั้ง ความนาจะเปนที่จะไดแตมรวมเปน 7 โดยที่มีลูกเตาลูกหนึ่งขึ้นแตมไมนอย กวา 4 เทากับขอใดตอไปนี้ 1 1) 13 2) 14 3) 61 4) 12 13. มีสิ่งของซึ่งแตกตางกันอยู 8 ชิ้น ตองแบงใหคน 2 คน คนหนึ่งได 6 ชิ้น และอีกคนหนึ่งได 2 ชิ้น จะมีจํานวน วิธีแบงกี่วิธี 1) 56 2) 128 3) 270 4) 326 14. ในการแขงขันฟุตบอลฤดูกาลหนึ่ง มีทีมเขารวมการแขงขัน 7 ทีม จัดแขงแบบพบกันหมด (แตละทีมตองลง แขงกับทีมอื่นทุกทีม) จะตองจัดการแขงขันอยางนอยกี่นัด 1) 7 2) 14 3) 21 4) 28
เฉลย 1. 3) 11. 2)
2. 1) 12. 3)
3. 1) 13. 1)
4. 1) 14. 3)
5. 3)
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
6. 2)
7. 3)
8. 2)
9. 1)
10. 4)
_____________________________ คณิตศาสตร (149)
สถิติ (Statistics) 1. ขอมูล ขอมูลที่ใชในการวิเคราะหทางสถิติมีสองประเภท คือ ขอมูลที่ไมไดแจกแจงความถี่ ซึ่งจะเห็นคาของขอมูล ทุกตัวและขอมูลที่แจกแจงความถี่ จะเห็นเปนอันตรภาคชั้น ความกวางของอันตรภาพชั้น = ขอบบน - ขอบลาง ขอบบน + ขอบลาง จุดกึ่งกลางอันตรภาคชั้น = 2
2. การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง 1. คาเฉลี่ยเลขคณิต, Mean, x x ของขอมูลที่ไมแจกแจงความถี่ x ของขอมูลที่แจกแจงความถี่
ขอสังเกต 1.
2. 3.
x =
N ∑ xi i=1
x =
K ∑ fi x i i=1
N ∑ xi = N x i=1 N ∑ (x i - x ) = 0 i=1 N 2 ∑ (x i - a ) มีคานอยที่สุดเมื่อ i=1
N
N
a= x
4. ถา x1, x2, x3, ... , xn มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปน x x1 + k, x2 + k, x3 + k, ... , xn + k มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปน x + k x1k, x2k, x3k, ..., xnk มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปน x k N x +N x 5. x รวม = 1N 1 + N2 2 2 2
คณิตศาสตร (150)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
2. มัธยฐาน, Median, Me Me สําหรับขอมูลที่ไมแจกแจงความถี่ Me = คาของขอมูลตําแหนงตรงกลาง (ตัวที่ N 2+ 1 ) เมื่อเรียงลําดับขอมูลแลว Me สําหรับขอมูลที่แจกแจงความถี่ N - ∑ f L Me = L + 2 f I M ขอสังเกต 1. การหามัธยฐานมีสองขั้นตอน คือ หาตําแหนง และหาคาโดยใชสูตรหรือการเทียบบัญญัติไตรยางค N
2. ∑ | x i - a | มีคานอยสุดเมื่อ a = Me i=1
3. ฐานนิยม, Mode, Mo Mo สําหรับขอมูลที่ไมแจกแจงความถี่ Mo สําหรับขอมูลที่แจกแจงความถี่
Mo = คาของขอมูลที่มีความถี่มากที่สุด
Mo = จุดกึ่งกลางของชั้นที่มีความถี่สูงสุด (แบบหยาบ) (แบบละเอียด) = L + d d+1 d I 2 1 ขอสังเกต 1. ใชไดกับขอมูลเชิงคุณภาพ 2. ถาแตละอันตรภาคชั้นมีความกวางตางกัน ตองถวงดวยน้ําหนักของความกวางดวย 4. ความสัมพันธของ x , Me และ Mo x = Me = Mo
x > Me > Mo
x < Me < Mo
โคงปกติ
โคงเบขวา
โคงเบซาย
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (151)
3. การวัดตําแหนงของขอมูล เราจะมองการวัดตําแหนงของขอมูลเปนเหมือนภาคขยายของการหามัธยฐาน ซึ่งมีสองขั้นตอนคือ การหา ตําแหนงและการหาคา 1. ควอรไทล (Quartiles) คือ การแบงขอมูลออกเปน 4 สวนเทาๆ กัน โดย Q1, Q2, และ Q3 คือ คะแนนของตัวแบงทั้ง 3 ตัว Qr ของขอมูลที่ไมแจกแจงความถี่ การหาตําแหนง : ตําแหนงของ Qr คือ r(N 4+ 1) การหาคา : ใชการเทียบบัญญัติไตรยางค Qr ของขอมูลที่แจกแจงความถี่ การหาตําแหนง : ตําแหนงของ Qr คือ rN 4 rN - ∑ fL 4 I การหาคา : Qr = L + fM 2. เดไซล (Deciles) คือ การแบงขอมูลออกเปน 10 สวนเทาๆ กัน โดย D1, D2, ..., D9 คือ คะแนนของ ตัวแบงทั้ง 9 ตัว Dr ของขอมูลที่ไมแจกแจงความถี่ การหาตําแหนง : ตําแหนงของ Dr คือ r(N10+ 1) การหาคา : ใชการเทียบบัญญัติไตรยางค Dr ของขอมูลที่แจกแจงความถี่ การหาตําแหนง : ตําแหนงของ Dr คือ rN 10 rN - ∑ fL 10 I การหาคา : Dr = L + fM 3. เปอรเซ็นไทล (Percentiles) คือ การแบงขอมูลออกเปน 100 สวนเทาๆ กัน มี P1, P2, ..., P99 คือ คะแนนของตัวแบงทั้ง 99 ตัว Pr ของขอมูลที่ไมแจกแจงความถี่ การหาตําแหนง : ตําแหนงของ Pr คือ r(N100+ 1) การหาคา : ใชการเทียบบัญญัติไตรยางค Pr ของขอมูลที่แจกแจงความถี่ rN การหาตําแหนง : ตําแหนงของ Pr คือ 100 rN - ∑ fL 100 I การหาคา : Pr = L + fM
คณิตศาสตร (152)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
4. การวัดการกระจายของขอมูล 1. การวัดการกระจายสัมบูรณ (Absolute Variation) ใชเพื่อวัดการกระจายของขอมูลชุดเดียว 1.1 พิสัย (Range) Range = xmax - xmin 1.2 สวนเบี่ยงเบนควอรไทล (Quatile Deviation) Q 3 - Q1 Q.D. = 2 1.3 สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Mean Deviation) N ∑ | xi - x | i=1
M.D. = N 1.4 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
N 2 ∑ (x i - x) i=1
N 2 ∑xi i =1
2 = N N -x 2. การวัดการกระจายสัมพัทธ (Relative Variation) ใชเพื่อตองการเปรียบเทียบการกระจายของขอมูล มากกวาหนึ่งชุด 2.1 สัมประสิทธิ์พิสัย x -x สัมประสิทธิ์พิสัย = x max + x min
S.D. =
max
min
2.2 สัมประสิทธิ์ควอรไทล Q -Q สัมประสิทธิ์ควอรไทล = Q 3 + Q1 3 1 2.3 สัมประสิทธิ์สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย สัมประสิทธิ์สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย = M.D. x 2.4 สัมประสิทธิ์การแปรผัน สัมประสิทธิ์การแปรผัน = S.D. x 2 ขอสังเกต 1. ความแปรปรวน (Variance) = S.D. = S2 2. S.D. ≥ 0 3. S.D. = 0 ↔ x1 = x2 = ... = xn = x 4. ถา x1, x2, ..., xn มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน S.D. ความแปรปรวนเปน S.D.2 x1 + k, x2 + k, ..., xn + k มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน S.D. ความแปรปรวนเปน S.D.2 x1k, x2k, ..., xnk มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน S.D.|k| ความแปรปรวนเปน S.D.2k2
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (153)
5. คามาตรฐาน
xi - x zi = S.D. ขอสังเกต 1. ขอมูลที่มีการแจกแจงปกติจะมี x = Me = Mo 2. พื้นที่ใตโคงปกติเทากับ 1 หรือ 100% ซึ่งคือปริมาณขอมูลทั้งหมด 3. การแจกแจงปกติมาตรฐาน คือ การแจกแจงปกติที่มี x = 0 และ S.D. = 1 4. ถา z1, z2, z3, ..., zn จะมี x = 0 และ S.D. = 1 5. คา z สามารถเปนไดทั้งบวก (xi > x ) และลบ (xi < x ) 6. zi = 0 ↔ xi = x 7. โดยมาก -3 < zi < 3 8. มีความสัมพันธระหวาง คะแนนมาตรฐาน, คะแนนดิบ, คาเฉลี่ยเลขคณิต, สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, พื้นที่ใตโคงปกติมาตรฐาน, ปริมาณขอมูล, เปอรเซนไทล
คณิตศาสตร (154)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
แบบฝกหัด 1. ขอมูลชุดหนึ่งมี 99 จํานวน เรียงลําดับจากนอยไปมากไดเปน x1, x2, ..., x99 ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูล ชุดนี้เทากับมัธยฐาน แลวขอใดตอไปนี้ถูก 49
99
49
99
1) ∑ x i = ∑ x i
2) ∑ (x 50 - x i ) = ∑ (x 50 - x i )
3)
4)
i=1 i = 51 49 99 ∑ x50 - x i = ∑ x50 - x i i=1 i = 51
i=1 49 ∑ (x 50 i=1
i = 51 99 - x i ) 2 = ∑ (x 50 i = 51
- x i )2
2. โรงเรียนอนุบาลแหงหนึ่งมีนักเรียน 80 คน โดยการแจกแจงของอายุนักเรียนเปนดังตาราง
3.5 อายุ (ป) จํานวนนักเรียน (คน) a
4 15
4.5 10
5 20
5.5 b
6 5
ถาคาเฉลี่ยของอายุนักเรียนมีคา 4.5 ป แลวสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของอายุนักเรียนมีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 5 7 9 11 2) 16 3) 16 4) 16 1) 16 3. ถาตารางแจกแจงความถี่แสดงน้ําหนักของเด็กจํานวน 40 คน เปนดังนี้ น้ําหนัก (กิโลกรัม) 9-11 12-14 15-17 18-20 21-23
จํานวน 15 5 5 10 5
ถา x แทนคาเฉลี่ยของน้ําหนักเด็กกลุมนี้ แลวขอใดตอไปนี้ถูก 1) x = 17.444 และมัธยฐานนอยกวาฐานนิยม 2) x = 14.875 และมัธยฐานนอยกวาฐานนิยม 3) x = 17.444 และมัธยฐานมากกวาฐานนิยม 4) x = 14.875 และมัธยฐานมากกวาฐานนิยม 4. ขอมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ถาหยิบขอมูล a, b, c, d มาคํานวณคามาตรฐาน ปรากฏวาไดคาดังตาราง ขอมูล คามาตรฐาน (z)
ขอใดตอไปนี้ถูก 1) -a + 2b + 2c - 3d = 0 3) a - 2b + 3c + 2d = 0 โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
a -3
b -0.45
c 0.45
d 1
2) -a + b + c - 3d = 0 4) a - b + c - d = 0 _____________________________ คณิตศาสตร (155)
5. ขอมูลความสูงของนักเรียนชั้น ม.6 โรงเรียนแหงหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ถาจํานวนนักเรียนที่มีความสูง นอยกวา 140.6 เซนติเมตร มีอยู 3.01% และจํานวนนักเรียนที่มีความสูงมากกวาคามัธยฐานแตนอยกวา 159.4 เซนติเมตรมีอยู 46.99% แลวจํานวนนักเรียนที่มีความสูงไมนอยกวา 155 เซนติเมตร แตไมเกิน 160 เซนติเมตร มีเปอรเซ็นตเทากับขอใดตอไปนี้ เมื่อกําหนดตารางแสดงพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐาน ระหวาง 0 ถึง z เปนดังนี้ z พื้นที่ใตเสนโคง
1.00 1.12 1.88 2.00 0.3413 0.3686 0.4699 0.4772
1) 12.86% 2) 13.14% 3) 15.87% 4) 13.59% 6. ถาความยาวรัศมีของวงกลม 10 วงมีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 3 และมีความแปรปรวนเทากับ 5 แลวผลรวม ของพื้นที่วงกลมทั้ง 10 วงนี้ มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 90π 2) 95π 3) 140π 4) 340π 7. กําหนดตารางแจกแจงความถี่แสดงความสูงของนักเรียนในโรงเรียนแหงหนึ่ง เปนดังนี้ ความสูง (เซนติเมตร) 120-129 130-139 140-149 150-159 160-169
จํานวนนักเรียน (คน) 10 20 40 50 30
ขอใดตอไปนี้ถูก 1) มัธยฐานของความสูงมีคานอยกวา 149 เซนติเมตร 2) ฐานนิยมของความสูงมีคานอยกวา 147 เซนติเมตร 3) ควอรไทลที่ 3 ของความสูงมีคามากกวา 150 เซนติเมตร 4) เปอรเซ็นไทลที่ 20 ของความสูงมีคามากกวา 145 เซนติเมตร 8. จากการแจกแจงขอมูลเงินเดือนของพนักงานบริษัทแหงหนึ่งพบวา เดไซลที่ เงินเดือน (บาท)
1 10,000
3 15,000
5 20,000
7 25,000
9 40,000
ถานายเอกและนายยศมีเงินเดือนรวมกันเทากับ 40,000 บาท และมีจํานวนพนักงานที่ไดเงินเดือนมากกวา นายยศอยูประมาณ 30% ของพนักงานทั้งหมด แลวเปอรเซ็นตของจํานวนพนักงานที่ไดเงินเดือนนอยกวา นายเอกเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 10% 2) 30% 3) 50% 4) 70% คณิตศาสตร (156)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
9. กําหนดใหขอมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ ถาหยิบขอมูล x และ y จากขอมูลชุดนี้มาพิจารณา พบวา 13.14% ของขอมูลมีคามากกวา x และ x มากกวา y อยู 2% ของสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แลวจํานวน ขอมูล (คิดเปนเปอรเซ็นต) ที่มีคานอยกวา y เทากับขอใดตอไปนี้ เมื่อกําหนดตารางแสดงพื้นที่ใตเสนโคง ปกติมาตรฐานระหวาง 0 ถึง z เปนดังนี้ z พื้นที่ใตเสนโคง
1.00 0.3413
1.10 0.3643
1.12 0.3686
1.14 0.3729
1.16 0.3770
1) 36.43% 2) 37.29% 3) 86.43% 4) 87.29% 10. คะแนนสอบวิชาความถนัดของนักเรียนกลุมหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ถาผลรวมของคามาตรฐานของคะแนน ของนายแดงและนายดําเทากับ 0 และผลรวมของคะแนนนายแดงและนายดําเปน 4 เทาของสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน แลวสัมประสิทธิ์ของความแปรผันของคะแนนสอบของนักเรียนกลุมนี้เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 0.5 2) 1 3) 1.5 4) 2 11. กําหนดใหความสูงของคนกลุมหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ ถามีคนสูงกวา 145 เซนติเมตร และ 165 เซนติเมตรอยู 84.13% และ 15.87% ตามลําดับ แลวสัมประสิทธิ์ของความแปรผันของความสูงของคนกลุม นี้เทากับขอใดตอไปนี้ Z 1.00 1.12 1.14 1.16 พื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐานจาก 0 ถึง z 0.3413 0.3686 0.3729 0.3770 2 3 4 1 1) 31 2) 31 3) 31 4) 31 12. กําหนดใหขอมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ หยิบขอมูล x1, x2, x3 มาคํานวณคามาตรฐานปรากฏวาไดคา เปน z1, z2, z3 ตามลําดับ ถา z1 + z2 = z3 แลวคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้เทากับขอใดตอไปนี้ 1) x1 + x2 - z3 2) x1 - x2 - x3 3) x3 - x2 - x1 4) x1 + x2 + x3 13. ขอมูลชุดหนึ่งเรียงจากนอยไปมากเปนดังนี้ 1, 4, x, y, 9 และ 10 ถามัธยมฐานของขอมูลชุดนี้เทากับ คาเฉลี่ยเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยคณิตของขอมูลชุดนี้เทากับ 83 แลว y - x มีคาเทาใด 1) 4.5 2) 4 3) 2.5 4) 2 14. ขอมูลชุดหนึ่งมี 5 จํานวนและมีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 12 ถาควอรไทลที่ 1 และ 3 ของขอมูลชุดนี้มีคา เทากับ 5 และ 20 ตามลําดับ แลวเดไซลที่ 5 ของขอมูลชุดนี้มีคาเทาใด 1) 20 2) 15 3) 10 4) 5
เฉลย 1. 3) 11. 2)
2. 4) 12. 1)
3. 4) 13. 4)
4. 1) 14. 3)
5. 4)
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
6. 3)
7. 3)
8. 2)
9. 3)
10. 1)
_____________________________ คณิตศาสตร (157)
ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล (Funtional Relation Between Data) 1. การวิเคราะหความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล 1. ความสัมพันธของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม 2. การเขียนแผนภาพการกระจาย
2. ระเบียบวิธีกําลังสองนอยสุด สมการเสนตรง : รูปทั่วไปคือ สมการปกติ
y = mx + c n ∑ yi i =1 n ∑ xiyi i =1
สมการเสนพาราโบลา : รูปทั่วไปคือ สมการปกติ
n ∑ log y i i =1
n ∑ x i log y i i =1
=
y =
n ∑ yi i =1 n ∑ xiyi i =1 n 2 ∑ xi yi i =1
สมการเอกซโพเนนเชียล : รูปทั่วไปคือ สมการปกติ
n
= m ∑ x i + nc
i =1 n n m ∑ x 2i + c ∑ x i i =1 i =1 ax2 + bx + c n
n
= a ∑ x 2i + b ∑ x i + nc = =
y =
i =1 i =1 n n n a ∑ x 3i + b ∑ x 2i + c ∑ x i i =1 i =1 i =1 n n n a ∑ x 4i + b ∑ x 3i + c ∑ x 2i i =1 i =1 i =1 x ab หรือ log y = log a n
= n log a + log b ∑ x i i =1
n
n
i =1
i =1
= log a ∑ x i + log b ∑ x 2i
คณิตศาสตร (158)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
+ x log b
3. ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา เราสามารถแทนขอมูลที่เปนตัวแปรอิสระซึ่งเปนชวงเวลาที่หางเทากันไดดังนี้ ถาจํานวนชวงเวลาที่นํามา สรางความสัมพันธเปนจํานวนคี่ มักจะแทนดวย ..., -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, ... โดยใหชวงเวลาที่อยูตรงการเปน 0 ถาจํานวนชวงเวลาที่นํามาสรางความสัมพันธเปนจํานวนคู มักจะแทนดวย ..., -5, -3, -1, 1, 3, 5, ... โดยให ชวงเวลาที่อยูตรงกลางเปน -1 และ 1 ขอสังเกต 1. รูตัวแปรอิสระทํานายตัวแปรตาม ไมสามารถทํานายกลับได (ถาจะทํานายตองสลับตัวแปรแลวสรางความสัมพันธเชิงฟงกชันใหม) 2. เมื่อจะทํานายความสัมพันธในรูปอนุกรมเวลา ตองแปลงขอมูลกอน 3. สําหรับสมการรูปเสนตรง ( x , y ) อยูบนเสน 4. สําหรับสมการรูปเสนตรง ∆y = m∆x
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010
_____________________________ คณิตศาสตร (159)
แบบฝกหัด 1. ในการหาความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร (X) และวิชาฟสิกส (Y) ของนักเรียน 100 คนของโรงเรียนแหงหนึ่ง ไดพจนตางๆ ที่ใชในการคํานวณคาคงตัวจากสมการปกติของความสัมพันธ เชิงฟงกชันที่มีรูปสมการเปน Y = a + bX ดังนี้ 100 ∑ xi i=1
100
100
100
i=1
i=1
i=1
= ∑ y i = 1000, ∑ x i y i = 2000, ∑ x 2i = 4000
ถาคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนายสมชายเทากับ 15 คะแนน แลวคะแนนสอบวิชาฟสิกส (โดยประมาณ) ของนายสมชายเทากับขอใดตอไปนี้ 1) 16 คะแนน 2) 16.67 คะแนน 3) 17 คะแนน 4) 17.67 คะแนน 2. ในการหาความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางปริมาณสารปนเปอนชนิดที่ 1 (X) และปริมาณสารปนเปอนชนิดที่ 2 (Y) จากตัวอยางอาหารจํานวน 100 ตัวอยาง พบวาความแปรปรวนของปริมาณสารชนิดที่ 1 มีคาเทากับ 100
100
i =1
i =1
1.75, คาเฉลี่ยเลขคณิตของปริมาณสารชนิดที่ 2 มีคาเทากับ 0.5, ∑ x i y i = 100 และ ∑ x 12 = 200 ถาสมการปกติของความสัมพันธเชิงฟงกชันดังกลาวอยูในรูป Y = a + bX แลว เมื่อพบสารปนเปอนชนิดที่ 1 อยู 4 หนวย จะพบสารปนเปอนชนิดที่ 2 (โดยประมาณ) เทากับขอใดตอไปนี้ 1) 0.5 หนวย 2) 1 หนวย 3) 1.5 หนวย 4) 2 หนวย 3. กําหนดใหขอมูล X และ Y มีความพันธกันดังตารางตอไปนี้ X Y
1 1
2 3
3 4
3 6
ถาสมการปกติของความสัมพันธเชิงฟงกชันดังกลาวอยูในรูป Y = a + bX แลวเมื่อ X = 10 คาของ Y เทากับเทาใด 1) 8.5 2) 19 3) 22 4) 25.5
เฉลย 1. 2)
2. 4)
3. 2)
คณิตศาสตร (160)_____________________________
โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010