เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตั๋วเงิน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
รวมรวมโดยตรีเนตร สาระพงษ์ อาจารย์ ประจาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
รวมข้ อสอบเก่า สานักอบรมศึกษากฎหมายแห่ งเนติบัณฑิตยสภา สมัยที่ ๔ ปี การศึกษา ๒๔๙๔ (ข้ อ ๔) ถาม ก. ปลอมลายมือชื่อ ข. ลูกค้าธนาคาร ค. สัง่ จ่ายเงิน ๕,๐๐๐ บาท จากธนาคาร ค. ให้แก่ ง. ซึ่ง ง. ทําเช็คหาย จ. เก็บเช็คนั้นได้ จ. ปลอมลายมือชื่อ ง. สลักหลังโอนเช็คนั้นต่อไปยัง ฉ. ฉ. นําเช็คไปขึ้นเงินต่อธนาคาร ค. ธนาคาร ค. จ่ายเงินให้ ฉ. ไป ๕,๐๐๐ บาท ตามเช็ค ครั้น ปรากฏว่าความจริ งขึ้น ข. มีสิทธิเรี ยกร้องจากธนาคาร ค. กับ ฉ. ประการใด ธงคาตอบ ธนาคาร ค. ต้องรับผิดต่อ ข. สําหรับการที่ ก. ปลอมบายมือชื่อ ข. สัง่ จ่ายขึ้นให้แก่ ง. เพราะธนาคารมีหน้าที่จะต้องรู้จกั ลายมือชื่อของ ข. ซึ่งเป็ นผูเ้ คยค้าของตนเอง ถ้าธนาคาร จ่ายเงินไปทั้ง ๆ ที่ลายมือ ข. ถูกปลอม ต้องถือว่าได้จ่ายไปโดยประมาทเลินเล่อ ไม่ได้รับความ คุม้ ครอง ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๐๙ เพราะฉะนั้นธนาคารจะหักบัญชี ข. สําหรับจํานวนเงินที่ตนได้ จ่ายไม่ไม่ได้ ส่วน ฉ. นั้นไม่มีความผูกพันกับ ข. ประการใด เพราะฉะนั้น ข. จึงไม่มีสิทธิเรี ยง ร้องจาก ฉ.
สมัย ๘ ปี การศึกษา ๒๔๙๘ ( ข้ อ ๘) ถาม นายเอกเขียนเช็คสัง่ ธนาคารออมทรัพย์ จํากัด ซึ่งนายเอกมีบญั ชีเดินสะพัดให้จ่ายเงินแก่นาย โท ๑,๐๐๐ บาท นายโทรับเช็คมาแล้วได้ขีดคร่ อมเช็คนั้นอย่างขีดคร่ อมทัว่ ไปลงไว้ ตั้งใจจะฝาก เข้าบัญชีของตนที่ธนาคารประหยัดสิ น จํากัด แต่บงั เอิญมีคนร้ายล้วงกระเป๋ าลักเช็คฉบับนั้นไป จากนายโทเสี ยก่อน คนร้ายลบล้างรอยขีดคร่ อมที่เช็คออกแล้วเขียนลายมือชื่อนายโทปลอมสลัก หลังเช็คชําระหนี้ให้นายตรี ต่อไป นายตรี รับเช็คนั้นไว้โดยสุจริ ต แล้วนําเช็คไปขึ้นเงินจาก ธนาคารออมทรัพย์ จํากัน ธนาคารออมทรัพย์ จํากัด ได้จ่ายเงินให้แก่นายตรี ไปเช่นนี้ นายโทจะ เรี ยกร้องให้ผใู้ นรับผิดใช้เงินจํานวนนี้ให้แก่ตนได้บา้ งหรื อไม่
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
แนวคาตอบ นอกจากคนร้ายที่จะต้องรับผิดต่อนายโทอย่างไม่มีปัญหาแล้ว นายโทยังเรี ยกร้องให้ นายตรี รับผิดชอบใช้เงินแก่ตนได้ เพราะนายโทไม่ได้สลักหลังโอนเช็คให้นายตรี ลายมือชื่อนาย โทที่สลักหลังเช็คเป็ นลายมือที่คนร้ายปลอมขึ้น นายตรี ไม่มีสิทธิอย่างใดในเช็คฉบับนั้นเลย (ป. พ.พ. มาตรา ๑๐๐๘) สําหรับธนาคารออมทรัพย์ จํากัดนั้น จะต้องพิจารราว่ารอยขีดคร่ อมเช็คที่คนร้ายลบล้าง ออกนั้นยังปรากฏอยูห่ รื อไม่ ถ้าไม่ปรากฏและธนาคารได้จ่ายเงินไปตามทางค้าปกติ โดยสุจริ ต และปราศจากประมาทเลินเล่อแล้ว ธนาคารไม่ตอ้ งรับผิด ถ้าเป็ นไม่ในทางตรงกันข้ามธนาคารก็ ต้องรับผิด (ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๗ วรรค ๓ และมาตรา ๑๐๐๙) สมัยที่ ๑๐ ปี การศึกษา ๒๕๐๐ (ข้ อ ๓) ถาม นายหลงพบนายไหลที่จงั หวัดพระนครเมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ จึงทวงเงินหนึ่ง หมื่นบาทซึ่งนายไหลเป็ นหนี้ตนอยู่ นายไหลขอชําระหนี้ดว้ ยเช็คฉบับหนึ่ง ซึ่งลงชื่อนายเหลือง เป็ นผูส้ งั่ จ่าย “เงินสดหนึ่งหมื่นบาทหรื อผูถ้ ือ ” และมีวนั และสถานที่เขียนไว้ที่หวั เช็คว่า “พระ นคร” “วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๑” นายหลงจึงตกลงรับไว้ ครั้นถึงวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๑ นายหลงไปขึ้นเอาเงินที่ธนาคาร ๆ แจ้งว่าจ่ายให้ไม่ได้เพราะ (๑) เช็คลงวันที่ล่วงหน้า (๒) ล่วงเลยเวลาขึ้นเงินแล้ว และ (๓) ไม่มีชื่อนายหลงเป็ นผูร้ ับเงินหรื อรับหลักหลัง ถ้านายหลง ได้รับเช็คนั้นไว้โดยสุจริ ต นายหลงจะมีสิทธิเรี ยกร้องเอาเงินตามเช็คนั้นจากผูใ้ ดได้บา้ งหรื อไม่ แนวคาตอบ นายหลงมีสิทธิเรี ยกร้องเอาเงินตามเช็คจากนายเหลืองผูส้ งั่ จ่ายได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๘๙ ประกอบด้วยมาตรา ๙๑๔ เพราะ (๑) เช็คนั้นถือว่าออกในวันที่ลงไว้ในเช็คซึ่งอาจ ลงวันเดือนปี ล่วงหน้าก็ได้ ฎีกาที่ ๖๕๕/๒๔๙๘ (๒) เช็คนี้มีอายุเพียง ๒ เดือนเศษ เท่านั้น ธนาคารยังมีหน้าที่ตอ้ งจ่ายเงินตามเช็คนั้น ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๑ - ๙๙๒ มาตรา ๙๙๐ ไม่ เกี่ยวกับความรับผิดของธนาคาร (๓) เช็คนี้เป็ นชนิดออกให้แก่ผถู้ ือ จึงไม่จาํ เป็ นที่จะต้องมีชื่อ นายหลง ในฐานเป็ นผูร้ ับเงินหรื อรับสลักหลัง นายหลงเป็ นผูท้ รงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๐๔ ส่วนนายหลงจะมีสิทธิเรี ยกร้องจากธนาคารที่งดเว้นจ่ายเงินหรื อไม่น้ ีให้ ๆ คะแนนตาม เหตุผลที่ผตู้ อบยกขึ้นอ้าง
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
สมัยที่ ๑๑ ปี การศึกษา ๒๕๐๑ (ข้ อ ๖) ถาม นายแสงเขียนเช็คสัง่ จ่ายเงินให้นายส่าง ๕,๐๐๐ บาท นายส่างเขียนเพิ่มจํานวนเงินลงในเช็ค เป็ น ๑๕,๐๐๐ บาท แล้วสลักหลังชําระหนี้ให้แก่นายสิ ง นายสิ งสลักหลังชําระหนี้ให้แก่นายสันต์ อีกต่อหนึ่ง นายสันต์นาํ เช็คไม่รับเงินจากธนาคาร ธนาคารไม่จ่ายเงินให้ โดยปรากฏว่านายแสงมี เงินในธนาคารไม่พอจ่าย ดังนี้ นายสันต์จะเรี ยกร้องให้ นายสิ ง นายส่าง และนายแสง คนใดให้รับผิดใช้เงินตาม เช็คนั้นได้เพียงใดหรื อไม่ แนวคาตอบ การที่นายส่างเขียนเพิ่มจํานวนเงินลงในเช็ค เป็ นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อสําคัญใน เช็คนั้น โดยมิปรากฏว่านายแสงผูส้ งั่ จ่ายเงินซึ่งจะต้องรับผิดตามตามเช็คนั้น ได้ยนิ ยอมด้วยเช็ค นั้นจึงเป็ นอันเสี ย นายแสงไม่ตอ้ งรับผิดตามเช็คนั้นต่อไป แต่นายส่างซึ่งเป็ นผูท้ าํ การแก้ไข เปลี่ยนแปลงแล้ว ต้องรับผิดตามข้อความในเช็คนั้น นายสันต์จึงมีสิทธิเรี ยกร้องให้นายสิ งและ นายส่างใช้เงินตามเช็คนั้นได้ แต่ถา้ การที่นายส่างแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มจํานวนลงในเช็คนั้นไม่ ประจักษ์ คือโดยปกติไม่อาจทราบการเปลี่ยนแปลงนั้นได้ นายสันต์ซ่ ึงเป็ นผูท้ รงเช็คโดยชอบ ด้วยกฎหมายจะเรี ยกร้องให้นายแสงผูส้ งั่ จ่ายใช้เงินตามจํานวนเดิม คือ ๕,๐๐๐ บาท นั้นก็ได้ (ป. พ.พ. มาตรา ๑๐๐๗) สมัยที่ ๑๒ ปี การศึกษา ๒๕๐๒ (ข้ อ ๗) ถาม นายแดงเป็ นหนี้นายสี ๑,๐๐๐ บาท นายสี เตือนให้ชาํ ระ นายแดงขอผัดว่าจะไปขอเงินนาย ขําซึ่งเป็ นลุงมาใช้ให้ในวันรุ่ งขึ้น นายขําสงสารหลานชายแต่ไม่มีเงินสดพอจึงออกเช็คสัง่ ให้ ธนาคารจ่ายเงินให้แก่นายแดง รุ่ งขึ้นนายขํากลับใจเสี ยดายเงินได้สงั่ ให้ธนาคารงดจ่ายเงินตามเช็ค นั้น แต่ไม่ได้แจ้งให้นายแดงทราบ นายแดงเซ็นชื่อสลักหลังเช็คแล้วนําไปมอบให้แก่นายสี นาย สี นาํ เช็คไปขึ้นเงินที่ธนาคาร ธนาคารไม่จ่ายเงินให้ ดังนี้ ใครจะเรี ยกร้องให้ใช้เงินหรื อรับผิดได้บา้ ง
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
แนวคาตอบ นายขําออกเช็คในมูลหนี้ซ่ ึงเป็ นการให้แก่นายแดงยังไม่สมบูรณ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๒๓ นายขําจึงไม่ตอ้ งรับผิดต่อนายแดง ส่วนนายสี เป็ นผูท้ รงเช็คไม่ได้รับโอนเช็ค ด้วยคบคิด กันฉ้อฉล นายขําจะยกขึ้นต่อสูน้ ายสี ไม่ได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๘๙ และ ๙๑๖ นายสี มีสิทธิเรี ยกร้องนายขําและนายแดงเรี ยงตัว หรื อร่ วมกันให้ใช้เงินตามเช็คได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๘๙ และ ๙๖๗ สมัยที่ ๑๓ มีการศึกษา ๒๔๐๓ (ข้ อ ๙) ถาม บริ ษทั ดําสนิท จํากัด ออกเช็คสัง่ ธนาคารจ่ายเงินในบัญชีบริ ษทั ๑๐๐,๐๐๐ บาท แก่บริ ษทั เขียวสะอาด จํากัด เป็ นค่าซื้อสิ นค้า เช็คนั้นประทับตราบริ ษทั ดําสนิท จํากัด และลงลายมือชื่อ นายดําในฐานะประธานกรรมการของบริ ษทั บริ ษทั เขียวสะอาด จํากัด ได้รับเช็คแล้วก็สลักหลัง เช็คโอนให้แก่บริ ษทั เหลืองสด จํากัด เพื่อชําระหนี้ที่คา้ งอยู่ ต่อมานายดําตาย ธนาคารไม่ยอบใช้ เงินตามเช็คนั้นโดยอ้างว่าผูส้ งั่ จ่ายตาย ดังนี้ ถ้าบริ ษทั เหลืองสด จํากัด มาปรึ กษาท่าน ท่านจะแนะนําอย่างไร แนวคาตอบ บริ ษทั ดําสนิท จํากัด เป็ นผูส้ งั่ จ่าย ธนาคารไม่มีสิทธิถือเอาความตายของนายดํา เป็ นเหตุไม่ใช้เงิน ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๒ (๒) บริ ษทั เหลืองสด จํากัด จึงมีสิทธิเรี ยกร้องให้ ธนาคารใช้เงินตามเช็ค (ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๑) หรื อจะเรี ยกร้องจากบริ ษทั ดําสนิท จํากัด ผูส้ งั่ จ่าย หรื อบริ ษทั เขียวสะอาด จํากัด ผูส้ ลักหลังก็ได้ (ป.พ.พ. มาตรา ๙๑๔) สมัยที่ ๑๔ ปี การศึกษา ๒๕๐๔ (ข้ อ ๑) ถาม นายดําออกเช็คสัง่ จ่ายให้นายแดง นายแดงเอาเช็คไม่ข้ ึนเงิน ธนาคารปฏิเสธการใช้เงินเพราะ บัญชีของนายดําถูกปิ ดมานานแล้ว นายแดงจะฟ้ องเรี ยกเงินจากนายดําก็ไม่มีทรัพย์ที่จะใช้หนี้ จึง ให้นายดําหาคนมาประกัน มิฉะนั้นจะฟ้ องคดีอาญา นายดําไปเอานายเขียวมาเซ็นชื่อลงในหลัง เช็คนั้น แล้วมอบเช็คให้นายแดงไป ดังนี้ นายเขียวจะต้องรับผิดต่อนายแดงเพียงใดหรื อไม่
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
แนวคาตอบ นายเขียวไม่ตอ้ งรับผิดเลย เพราะการเซ็นชื่อหลังเช็คไม่มีขอ้ คยามอันจะปรับได้ดว้ ย กฏหมายว่าด้วยการคํ้าประกัน และจะให้รับผิดในฐานะผูส้ ลักหลังเช็คก็ไม่ได้เพราะนายแดงรู้อยู่ ว่าบัญชีนายดําถูกปิ ดแล้ว สมัยที่ ๑๗ ปี การศึกษา ๒๕๐๗ (ข้ อ ๑๐) ถาม นายเอกออกเช็คระบุชื่อหนึ่งสัง่ ธนาคารให้จ่ายเงิน ๕,๐๐๐ บาท แก่นายโท นายโททําเช็ค ฉบับนี้หายไป นายตรี เก็บได้ เอาไปสลักหลังโดยปลอมชื่อว่าเป็ นนายโทโอนให้แก่นายจัตวาซึ่ง รับโอนไว้โดยสุจริ ต ต่อมาปรากฏว่าเช็คฉบับนี้นายจัตวานําไปขึ้นเงินไม่ได้ นายจัตวาจะมีสิทธิ เรี ยกเงินตามเช็คจากนายเอกได้หรื อไม่ แนวคาตอบ นายจัตวาไม่มีสิทธิฟ้องเรี ยกเงินตามเช็ค เพราะการที่นายโทผูท้ รงตัวเงินทําเช็คหาย นายตรี เก็บไว้เอาไปสลักหลังโอนให้นายจัตวาโดยปลอมชื่อว่าเป็ นนายโทนั้น ถึงแม้นายจัตวาจะ รับโอนไว้โดยสุจริ ตก็ตาม ลายมือชื่อปลอมนั้นก็เป็ นอันใช้ไม่ได้เลย ใครจะอ้างอิงอาศัยแสวง สิ ทธิอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อยึดหน่วงตัว๋ เงินไว้กด็ ี หรื อเพื่อบังคับการใช้เงิน เอาแก่ค่สู ญ ั ญาแห่งเช็ค นั้นคนใดคนหนึ่งก็ดี ย่อมไม่อาจทําได้ เว้นแต่นายเอกซึ่งถูกบังคับให้ใช้เงินนั้นจะเป็ นผูต้ อ้ งตัด บทมิให้ยกข้อลายมือชื่อปลอมนั้นขึ้นเป็ นข้อต่อสูเ้ ท่านั้น (ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๐๘) สมัยที่ ๑๘ ปี การศึกษา ๒๕๐๘ (ข้ อ ๙) ถาม นายเขียวออกตัว๋ แลกเงิน ๕,๐๐๐ บาท สัง่ นายแดงให้จ่ายเงินให้แก่นายเหลือง นายเหลือง นําตัว๋ ไปยืน่ ต่อนายแดง นายแดงรับรองตัว๋ นั้น นายเหลืองสลักหลังตัว๋ นั้นให้นายม่วงเพื่อใช้หนี้ ครั้นถึงกําหนดใช้เงิน นายม่วงนําตัวไปยืน่ ต่อนายแดงเพื่อให้ใช้เงิน นายแดงไม่ใช้ นายม่วงไม่ได้ ทําคําคัดค้านไว้ ต่อมา ๑๐ วัน นายม่วงสลักหลังดอนตัว๋ ให้แก่นายชมพู นายชมพูจะเรี ยกร้องให้ ใครรับผิดได้บา้ ง
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
แนวคาตอบ นายม่วงสลักหลังตัว๋ แลกเงินเมื่อสิ้นเวลาเพื่อคัดค้านการใช้เงินตามตัว๋ เงินนั้นแล้ว นายชมพูผทู้ รงจึงมีสิทธิเพียงแต่จะเรี ยกร้องเอาจากนายแดงผูจ้ ่ายซึ่งได้รับรองตัว๋ นั้น และ เรี ยกร้องจากนายม่วงผูซ้ ่ ึงสลักหลังตัว๋ นั้นภายหลังที่สิ้นเวลาคัดค้านการไม่ใช้เงิน ส่วนนายเขียวผู้ สัง่ จ่าย และนายเหลือผูส้ ลักหลังก่อนสิ้นเวลาสําหรับคัดค้านการไม่ใช้เงินย่อมหลุดพ้นจากความ รับผิด (ป.พ.พ. มาตรา ๙๒๔ วรรคต้น ประกอบด้วยมาตรา ๙๗๓) สมัยที่ ๑๙ ปี การศึกษา ๒๕๐๙ (ข้ อ ๗) ถาม นายชิตออกเช็คสัง่ ธนาคารศรี เมืองระบุชื่อนายเติมเป็ นผูร้ ับเงิน และขีดคร่ อมเช็คนั้นใช้หนี้ ให้นายเติม นายเติมทําเช็คตกหาย คนเก็บได้ปลอมลายมือนายเติมสลักหลังให้นายแก่น นายแก่น เอาเช็คเข้าบัญชีของธนาคารกรุ งธน ธนาคารกรุ งธนเรี ยกเก็บเงินจากธนาคารศรี เมือง ธนาคารศรี เมืองจ่ายเงินตามเช็คไปโดยสุจริ ตและปราศจากประมาทเลินเล่อ นายเติมจะฟ้ องเรี ยกร้องเอาเงิน จากนายชิตหรื อธนาคารศรี เมืองได้หรื อไม่ แนวคาตอบ เรี ยกจากธนาคารศรี เมืองไม่ได้ เพราะธนาคารศรี เมืองใช้เงินตามเช็คที่ขีดคร่ อมโดย สุจริ ตและปราศจากประมาทเลินเล่อ ถือเสมือนว่าเช็คนั้นได้ใช้เงินให้แก่ผเู้ ป็ นเจ้าของอันแท้จริ ง แล้ว เรี ยกจากนายชิตไม่ได้ เพราะเช็คผ่านจากมือนายชิตไปถึงมือนายเติมแล้ว เมื่อธนาคารศรี เมืองจ่ายเงินดังกล่าว ถือเสมือนว่าเช็คนั้นได้ใช้เงินให้แก่ผเู้ ป็ นเจ้าของอันแท้จริ งแล้ว (ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๘) สมัยที่ ๒๐ ปี การศึกษา ๒๕๑๐ (ข้ อ ๖) ถาม ม่วงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ แดงจ่ายเงินให้เหลือง ๕๐๐ บาท เหลืองสลักหลังโอนตัว๋ ไปให้ขาว เมื่อขาวรับโอนตัว๋ มานั้น ขาวแก้จาํ นวนเงินเป็ น ๒,๕๐๐ บาท โดยแก้ท้ งั จํานวนที่เป็ นตัวเลข และตัวหนังสื อได้อย่างแนบเนียนจนไม่อาจสังเกตได้วา่ เป็ นการแก้ไขในภายหลัง แล้วขาวจึงสลัก
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
หลังโอนให้ดาํ ๆ สลักหลังโอนให้แสด แสดผูท้ รงโอยชอบด้วยกฎหมายนําตัว๋ ไปยืน่ ให้แดง รับรองแดงก็รับรองให้ ครั้นถึงกําหนดใช้เงินแดงหนีไป ดังนั้น ถ้าแสดใช้สิทธิไล่เบี้ย ม่วง เหลือง ขาว ดํา จะต้องรับผิดต่อแสดเพียงใดหรื อไม่ แนวคาตอบ ตัวแลกเงินรายนี้ มีขาวผูส้ ลักหลังคนหนึ่งเป็ นผูแ้ ก้ไขเปลี่ยนแปลงในข้อสําคัญแต่ ความเปลี่ยนแปลงนั้นไม่ประจักษ์ เมื่อตัว๋ ตกอยูใ่ นมือแสดผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมาย แสดจึง เอาประโยชน์จากตัว๋ นั้นได้เสมือนดังว่ามิได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงเลย และจะบังคับการใช้เงิน ตามเนื้อความเดิมแห่งตัว๋ นั้นก็ได้ ดังนั้นแสดจึงใช้สิทธิไล่เบี้ยจากม่วงและเหลืองได้ใน จํานวน ๕๐๐ บาท (ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๐๗ วรรค ๒) ส่วนขาวเป็ นผูแ้ ก้จาํ นวนเงินในตัว๋ ก่อนที่จะสลักหลังให้ดาํ และดําก็เป็ นผูส้ ลักหลังต่อมา ยังแสด แสดจึงใช้สิทธิไล่เบี้ยจากขาวและดําได้ในจํานวนเงิน ๒,๕๐๐ บาท เพราะขาวและดําผู้ สลักหลังทั้งสองคนนี้ ย่อมเป็ นอันสัญญาว่าเมื่อตัว๋ นั้นได้นาํ ยืน่ โดยชอบแล้วจะมีการใช้เงินตาม ตัว๋ เมื่อแดงหนีไปไม่ใช้เงินตามคํารับรอง ขาวและดําจึงต้องรับผิดต่อแสดดังกล่าว (ป.พ.พ. มาตรา ๙๑๔) หมายเหตุ ดูมาตรา ๑๐๐๗ วรรคหนึ่ง สมัยที่ ๒๑ ปี การศึกษา ๒๕๑๑ (ข้ อ ๖) ถาม นายซื่อถูกนายคดใช้อาวุธขู่ให้ลงชื่อสัง่ จ่ายเช็คเงินห้าพันบาทให้ตน นายซื่อมีความกลัวจึง ยอมเซ็นเช็คให้ แต่เพราะมีไหวพริ บดี จึงแกล้งเซ็นชื่อให้ผิดไปจากลายเซ็นที่มอบไว้เป็ นตัวอย่าง แก่ธนาคาร นายคดนําเช็คไปโอนใช้หนี้ให้แก่ บริ ษทั สหะบริ โภค ผูร้ ับเช็คนั้นไว้โดยสุจริ ต บริ ษทั นําเช็คไปขึ้นเงินที่ธนาคาร ธนาคารไม่ยอบจ่ายเพราะลายมือชื่อสัง่ จ่ายแตกตางกับตัวอย่าง ที่นายซื่อให้ไว้เป็ นอันมาก ดังนี้ บริ ษทั จะฟ้ องนายซื่อและธนาคารให้รับผิดใช้เงินตามเช็คได้ หรื อไม่ แนวคาตอบ บริ ษทั ฟ้ องนายซื่อให้รับใช้เงินตามเช็คได้เพราะนายซื่อเป็ นผูล้ งลายมือชื่อสัง่ จ่ายเช็ค (ป.พ.พ. มาตรา ๙๐๐ , ๙๑๔ , ๙๘๙)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
นายซื่อผูถ้ กู ฟ้ องในมูลเช็คหาอาจจะต่อสูบ้ ริ ษทั ผูท้ รงด้วยข้อต่อสูอ้ นั อาศัยความเกี่ยวพัน กันเฉพาะบุคคลระหว่างตนกับนายคดผูท้ รงคนก่อนนั้นไม่ได้ เพราะบริ ษทั ผูท้ รงรับโอนเช็คจาก นายคดไว้โดยสุจริ ต การโอนมิได้มีข้ ึนด้วยคบคิดกันฉ้อฉล (ป.พ.พ. มาตรา ๙๑๖ , ๙๘๙) บริ ษทั จะฟ้ องธนาคารให้รับผิดใช้เงินตามเช็คไม่ได้ เพราะธนาคารไม่มีหน้าที่ต่อผูท้ รงที่ จะต้องจ่ายเงินตามเช็ค เว้นแต่จะเป็ นกรณี ที่ธนาคารลงข้อความรับรองว่าจะใช้เงินตามเช็คให้แก่ผู้ ทรงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๒ สมัยที่ ๒๒ ปี การศึกษา ๒๕๑๒ (ข้ อ ๕) ถาม นายแดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ นายเขียวใช้เงินให้แก่นายม่วง นายม่วงสลักหลังโอนตัว๋ ให้นาย เหลืองโดยมีนายชมพูเข้ารับอาวัลคํ้าประกันนายม่วง นายเหลืองผ่อนเวลาให้แก่นายเขียว โดย นายแดง นายม่วง และนายชมพูมิได้ตกลงด้วยในการผ่อนเวลานั้น ครั้นถึงกําหนดเวลาที่ผอ่ นให้ นายเขียวก็ไม่มีเงินใช้ให้นายเหลือง ดังนี้ นายเหลืองจะฟ้ องเรี ยกเงินตามตัว๋ จากนายแดง นายม่วง และนายชมพูได้หรื อไม่ แนวคาตอบ นายเหลืองจะฟ้ องเรี ยกตามตัว๋ แลกเงินจากนายแดงและนายม่วงไม่ได้ เพราะนาย เหลืองผูท้ รงตัว๋ ยอมผ่อนเวลาให้แก่นายเขียวผูจ้ ่าย โดยนายแดงและนายม่วงผูเ้ ป็ นคู่สญ ั ญาคน ก่อนๆ มิได้ตกลงในการผ่อนเวลานั้น (ป.พ.พ. มาตรา ๙๔๘) นายเหลืองฟ้ องเรี ยกเงินจากนายชมพูผรู้ ับอาวัลได้ เพราะแม้ถึงว่าความรับผิดใช้เงินอัน ผูร้ ับอาวัลได้ประกันอยูน่ ้ นั จะตกเป็ นใช้ไม่ได้ดว้ ยเหตุใดๆ นอกจากเพราะทําผิดแบบระเบียบข้อ สัญญารับอาวัลนั้นก็คงสมบูรณ์ การที่นายเหลืองผูท้ รงยอมผ่อนเวลาให้แก่นายเขียวผูจ้ ่ายดังกล่าว ไม่ใช้กรณี ทาํ ผิดแบบระเบียบ (ป.พ.พ. มาตรา ๙๔๐ วรรคสอง) สมัยที่ ๒๓ ปี การศึกษา ๒๕๑๓ (ข้ อ ๖) ถาม นายบัณฑิตไม่เคยมีเงินฝากอยูใ่ นธนาคารแห่งใดเลย แต่นายบัณฑิตเป็ นลูกหนี้นายภักดีอยู่ ๑๐,๐๐๐ บาท เมื่อถูกนายภักดีทวงถามบ่อยๆ เข้า นายบัณฑิตจึงขอเช็คของนายจํารัสซึ่งเป็ น
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
เพื่อนกัน และมีบญั ชีเงินฝากอยูใ่ นธนาคารสยามพาณิ ชย์ จํากัด มาเขียนสัง่ จ่ายเช็คให้แก่นายภักดี ตามยอดที่เป็ นหนี้น้ นั แล้วลงชื่อนายบัณฑิต เป็ นผูส้ งั่ จ่าย นายภักดีนาํ เช็คดังกล่าวไปขึ้นเงินที่ ธนาคาร แต่ธนาคารปฏิเสธการสัง่ จ่ายโดยอ้างเหตุผลในใบคืนเช็คว่า “ลายเซ็นผูส้ ่งจ่ายไม่ ถูกต้อง” เมื่อนายภักดีนาํ เช็คไปขึ้นเงินไม่ได้เช่นนี้ นายภักดีจะฟ้ องผูใ้ ดให้รับผิดตามเช็คฉบับ ดังกล่าวได้หรื อไม่ แนวคาตอบ นายภักดีตอ้ งฟ้ องนายบัณฑิต ให้รับผิดแต่เพียงผูเ้ ดียว แม้นายบัณฑิตจะไม่มีเงินฝาก อยูใ่ นธนาคารใดๆ และเช็ครายพิพาทสัง่ จ่ายโดยใช้แบบพิมพ์เช็คตามบัญชีเงินฝากของนายจํารัส ก็ตาม แต่กท็ าํ เป็ นหนังสื อตราสารซึ่งมีรายการครบถ้วนบริ บูรณ์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๐๐, ๙๘๗, ๙๘๘ เมื่อนายภักดีซ่ ึงเป็ นผูท้ รงนําเช็คไปขึ้นไม่ได้ นายบัณฑิตซึ่งเป็ นผูส้ งั่ จ่ายย่อมต้องรับผิดตาม เช็ค นั้นต่อนายภักดี ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๔๑ และ ๙๖๗ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๕๔/ ๒๕๑๑) สมัยที่ ๒๔ ปี การศึกษา ๒๕๑๔ (ข้ อ ๖) ถาม เอกทําสมุดเช็คของตนตกหาย โทเก็บได้จึงปลอมลายมือชื่อเอกสัง่ จ่ายเช็คเงิน ๒,๐๐๐ บาท ให้ตรี ตรี สลักหลังโอนให้จตั วา จัตวาสลักหลังโอนให้เบ็ญจะ เบ็ญจะนําเช็คไปเบิกเงินที่ธนาคาร ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน เพราะเอกแจ้งต่อธนาคารไว้วา่ สมุดเช็คของตนหายไปดังนี้ ใครบ้าง จะต้องรับผิดชอบต่อเบ็ญจะตามเช็คฉบับนี้ แนวคาตอบ เอกไม่ตอ้ งรับผิดต่อเบ็ญจะ เพราะลายมือชื่อของเอกที่ลงสัง่ จ่ายนั้นเป็ นลายมือชื่อ ปลอม เว้นแต่เอกจะอยูใ่ นฐานะเป็ นผูต้ อ้ งตัดบทมิให้ยกข้อลายมือชื่อปลอมขึ้นเป็ นข้อต่อสู้ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๐๐๘) ตรี และจัตวาต้องรับผิดต่อเบ็ญจะ เพราะแม้เช็คฉบับนี้จะเกิดขึ้นจากลายมือชื่อผูส้ งั่ จ่าย ปลอมก็ตาม การที่ลายมือชื่อของเอกปลอม ย่อมไม่กระทบกระทัง่ ถึงความสมบูรณ์แห่งลายมือ ชื่ออื่นๆ ในตัว๋ เงินนั้น (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๐๐๖)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
โทต้องรับผิดต่อเบ็ญจะ เพราะโทเป็ นผูล้ งลายมือชื่อสัง่ จ่ายเช็คฉบับนี้ แม้จะลงเป็ นชื่อ เอกซึ่งไม่ใช่ชื่อของตนก็ตาม โทก็ยงั คงต้องรับผิดชอบต่อเบ็ญจะในฐานะที่โทเป็ นผูส้ งั่ จ่าย (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๐๐, ๘๑๔) สมัยที่ ๒๕ ปี การศึกษา ๒๕๑๕ (ข้ อ ๖)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ถาม ตุย้ ออกเช็คใช้หนี้จิ๋ว จิ๋วสลักหลังลอยโอนให้ป้อม ป้ อมทําเช็คตกหาย ปานเก็บได้จึงเอาเช็ค ไปซื้อสิ นค้าจากเอียด ป้ อมรู้วา่ เช็คของตนไปอยูท่ ี่เอียดและเห็นว่าเอียดไม่มีสิทธิในเช็คเพราะตน ไม่ได้โอนเช็คนั้นให้เอียด จึงทวงเช็คจากเอียด เอียดจะต้องคืนเช็คให้หรื อไม่ หากเอียดไม่ตอ้ ง คืน ใครบ้างที่จะต้องรับผิดและไม่ตอ้ งรับผิดตามเช็คต่อเอียด แนวคําตอบ เอียดเป็ นผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมายเพราะเช็คที่ป้อมทําตกหายมีการสลักหลังลอย เป็ นรายที่สุดและเช็คที่สลักหลังลอยนั้น ย่อมโอนให้กนั ได้ดว้ ยการส่งมอบโดยไม่ตอ้ งสลักหลัง ในกรณี เช่น ผูท้ รงหาจําต้องสละตัว๋ เงินไม่ เว้นแต่จะได้มาโดยทุจริ ตหรื อได้มาด้วยความประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรง เอียดจึงไม่ตอ้ งคืนเช็คให้ป้อม (ป.พ.พ. มาตรา ๙๐๕ วรรคหนึ่งและสอง, ๙๒๐ (๓) ประกอบด้วย ๙๘๙) เมื่อเอียดไม่ตอ้ งคืนเช็ค ผูท้ ี่ตอ้ งรับผิดตามเช็คต่อเอียดก็คือ ตุย้ ผู้ สัง่ จ่ายและจิ๋วผูส้ ลักหลัง (ป.พ.พ. มาตรา ๙๖๔, ๙๖๗ ประกอบด้วย มาตรา ๙๘๙) ส่วนป้ อม และปานไม่ตอ้ งรับผิดตามเช็คต่อเอียดเพราะบุคคลทั้งสองนี้มิได้ลงลายมือชื่อในเช็ค (ป.พ.พ. มาตรา ๙๐๐) สมัยที่ ๒๖ ปี การศึกษา ๒๕๑๖ (ข้ อ ๗) ถาม แก้วได้รับใช้หนี้ดว้ ยเช็คฉบับหนึ่งโดยลูกหนี้สงั่ จ่ายเงิน ๕,๐๐๐ บาท ระบุชื่อแก้วเป็ นผูร้ ับ เงิน แก้วสลักหลังเช็คนั้นใช้หนี้เพชรโดยระบุชื่อเพชรเป็ นผูร้ ับสลักหลังแล้วเก็บเช็คนั้นไว้ใน ลิ้นชัก ยังไม่ได้ส่งมอบเช็คนั้นให้เพชร พลอยเสมียนของแก้วแอบเอาเช็คนั้นไปแล้วปลอม ลายมือชื่อของเพชรสลักหลังลอยโอนให้นิลเป็ นการชําระราคาที่ตนซื้อ นิลยังไม่ได้นาํ เช็คไปเบิก เงินที่ธนาคาร แก้วและเพชรรู้มาว่าเช็คไปตกอยูท่ ี่นิล ทั้งนิล เพชร และแก้ว ต่างอ้างว่าตนมีสิทธิ ตามกฎหมายในเช็คฉบับดังกล่าว จงวินิจฉัยว่าใครเป็ นผูท้ รงเช็คฉบับนั้น ถ้านิลนําเช็คฉบับนั้นไปเบิกเงินที่ธนาคาร แต่ธนาคารไม่ยอมจ่ายเงินตามเช็ค เพราะแก้ว สัง่ ห้ามธนาคารไว้ นิลจะเรี ยกเงินตามเช็คจากใครได้บา้ ง แนวคําตอบ (ก) ถ้ามีการโต้แย้งสิ ทธิกนั ในระหว่างนิล เพชร และแก้ว แก้วเป็ นผูท้ รงเช็คเพราะ แม้วา่ จะสลักหลังเช็คใช้หนี้เพชรก็ตาม แก้วยังมิได้ส่งมอบเช็คให้แก่เพชร การที่แก้วต้อง ปราศจากเช็คไปจากครอบครอง นิลจําต้องสละเช็คคืนให้แก้ว เพราะนิลได้รับสลักหลังเช็คมา โดยลายมือชื่อสลักหลังที่เป็ นลายมือชื่อปลอม ถึงแม้นิลจะได้รับสลักหลังมาโดยสุจริ ตหรื อมิได้
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงก็ตาม (ป.พ.พ. มาตรา ๙๐๕ วรรคแรก และวรรคสอง , มาตรา ๑๐๐๘) เพชรไม่ใช้ผทู้ รงเช็ค เพราะแม้การสลักหลังของแก้วจะระบุชื่อเพชรเป็ นผูร้ ับสลักหลังก็ ตาม เพชรก็มิได้มีเช็คนั้นไว้ครอบครอง (ป.พ.พ. มาตรา ๙๐๔) (ข) ถ้านิลนําเช็คไปเบิกเงินจากธนาคาร แต่ธนาคารไม่ยอมจ่ายเงินตามเช็คเพราะแก้วสัง่ ห้ามธนาคารไว้ นิลเรี ยกเงินตามเช็คจากพลอยผูส้ ลักหลังได้ แม้พลอยจะได้ลงลายมือชื่อสลัก หลังว่าเพชรก็ตาม ก็ถือได้วา่ พลอยลงลายมือชื่อสลักหลังนัน่ เอง การที่ลงลายมือชื่อของเพชรใน เช็คเป็ นลายมือปลอม ย่อมไม่กระทบกระทัง่ ถึงความสมบูรณ์แห่งลายมือชื่อที่พลอยลงไว้ในเช็ค นั้น (ป.พ.พ. มาครา ๙๐๐, ๙๑๔, ๑๐๐๖) สมัยที่ ๒๗ ปี การศึกษา ๒๕๑๗ (ข้ อ ๖) ถาม มัน่ ขายสิ นค้าให้แม้น มิ่งบอกมัน่ ว่ายินดีเป็ นผูค้ ้ าํ ประกันแม้น ถ้าแม้นไม่ชาํ ระราคาสิ นค้า มัน่ จึงออกตัว๋ แลกเงิน ๑ ฉบับ สัง่ แม้นให้จ่ายเงินตามจํานวนค่าสิ นค้าให้แก่ผถู้ ือและยืน่ ตัว๋ ต่อ แม้น แม้นและมิ่งต่างลงลายมือชื่อไว้หน้าตัว๋ แล้วมิ่งมอบตัว๋ ให้มนั่ มัน่ สลักหลังโอนตัว๋ นั้นให้ หม่นถึงกําหนดใช้เงิน หม่นนําตัว๋ ไปทวงเงินจากแม้น แม้นไม่มีเงินใช้ตามตัว๋ ใครบ้างจะต้องรับ ผิดหรื อไม่ตอ้ งรับผิดต่อหม่น สําหรับผูต้ อ้ งรับผิด รับผิดในฐานะใด แนวคาตอบ ๑. แม้ต่วนจะได้สลักหลังมอบเช็คให้เติมไปแล้วก็ตาม แต่เช็คยังมีคาํ ว่า “หรื อผูถ้ ือ” ซึ่งหมายความว่าให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือก็ได้ แสดงว่าตุย้ ผูส้ งั่ จ่ายประสงค์สงั่ จ่ายไม่เฉพาะแก่ต่วนซึ่งมี ชื่อเป็ นผูร้ ับเงิน แต่ยอมจ่ายให้แก่ผถู้ ือด้วย เช็คที่ออกให้แก่ผถู้ ือนั้นย่อมโอนไปเพียงด้วยส่งมอบ ให้กนั เติมจึงไม่จาํ เป็ นต้องสลักหลังเช็ค เพียงแต่มอบเช็คคืนให้ต่วน และต่วนได้รับเช็คนั้นไว้ ก็มีผลทําให้ต่วนเป็ นผูท้ รงเช็คนั้นแล้ว ต่วนจึงมีอาํ นาจฟ้ องตุย้ ได้ (ประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิ ชย์ มาตรา ๙๐๔ , ๙๑๘ ประกอบด้วยมาตรา ๙๘๙ คําพิพากษาฎีกาที่ ๗๙๙/๒๕๑๐ และที่ ๖๒๒/๒๕๑๒) ๒. แม้ต่วนจะมิได้ยนื่ เช็คแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงินภายในกําหนด ๑ เดือน หรื อ ๓ เดือน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๙๐ ก็ตาม ต่วนก็ไม่เสี ยสิ ทธิอนั มีต่อตุย้ ผู้ สัง่ จ่าย เพราะความเสี ยหายอันเกิดจากผูท้ รงไม่นาํ เช็คไมยืน่ ให้ใช้เงินภายในกําหนดเวลาดังกล่าว
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
แล้วนั้น หมายถึงผูส้ งั่ จ่ายสูญเสี ยเงินที่มีอยูใ่ นธนาคาร เพราะการที่ผทู้ รงเช็คไม่นาํ ไปยืน่ ขึ้นเงิน ภายในกําหนด เช่น ธนาคารล้มละลาย เงินของผูส้ งั่ จ่ายที่ฝากไว้กบั ธนาคารสูญไปด้วยเป็ นต้น กรณี น้ ีเป็ นเรื่ องตุย้ ผูส้ งั่ จ่ายเองไม่มีเงินในธนาคาร (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๙๐) เมื่อตุย้ เป็ นผูล้ งลายมือชื่อสัง่ จ่าย ตุย้ จึงต้องรับผิดต่อต่วนตามเนื้อความในเช็คนั้น (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๐๐ , ๙๔๑ ประกอบด้วยมาตรา ๙๘๙ , ๙๖๗ และ คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๖๒/๒๕๑๕) สมัยที่ ๒๙ ปี การศึกษา ๒๕๑๘ (ข้ อ ๗) ถาม นายปลื้มสัง่ จ่ายเช็คเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท ใช้หนี้นายเปรมเป็ นเช็คขึดคร่ อมทัว่ ไปสัง่ ให้ใช้เงิน แก่ผถู้ ือและในเช็คนั้นมีคาํ ว่า “ห้ามเปลี่ยนมือ ” นายเปรมได้รับเช็คแล้วถูกนายป้ อมขโมยเช็คไป นายป้ อมส่งมอบเช็คนั้นให้หนี้นายเปรื่ อง นายเปรื่ องรับเช็คไว้โดยสุจริ ตแล้วนําเช็คไปขึ้นเงินที่ ธนาคาร ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ดังนี้ นายเปรื่ องจะฟ้ องไล่เบี้ยเรี ยกเงินตามเช็คเอาเงินจาก นายปลื้มและจากนายป้ อมได้หรื อไม่ และเมื่อนายเปรมทราบว่าเช็คของตนที่หายไปอยูท่ ี่นาย เปรื่ อง จึงเรี ยกร้องให้นายเปรื่ องคืนเช็คให้ตน ดังนี้ นายเปรื่ องผูร้ ับเช็คของตนที่หายไปอยูท่ ี่นาย เปรื่ อง จึงเรี ยกร้องให้นายเปรื่ องคืนเช็คให้ตน ดังนี้ นายเปรื่ องผูร้ ับเช็คไว้โดยสุจริ ตจะต้องคืน เช็คให้นายเปรมหรื อไม่ แนวคาตอบ นายเปรื่ องได้เช็คขีดคร่ อมซึ่งมีคาํ ว่า (ห้ามเปลี่ยนมือ ) มาจากนายป้ อม นายเปรื่ อง จึงไม่มีสิทธิในเช็คนั้นยิง่ ไปกว่าสิ ทธิของบุคคลดันตนได้เช็คมา เนื่องจากนายป้ อมได้เช็คมาจาก นายเปรมโดยการขโมย แม้นายเปรื่ องจะได้รับเช็คจากนายป้ อมไว้โดยสุจริ ต นายเปรื่ องก็ไม่อาจ ฟ้ องไล่เบี้ยเรี ยกเงินตามเช็คเอาจากนายปลื้มผูส้ งั่ จ่ายได้ (ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๙) และเมื่อนายเปรมเรี ยกเช็คคืนจากนายเปรื่ องด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น นายเปรื่ องต้อง คืนเช็คให้นายเปรม (ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๙) แม้นายเปรื่ องจะรับเช็คไว้โดยสุจริ ต นายเปรื่ องก็ ไม่ได้รับความคุม้ ครองตาม ป .พ.พ. มาตรา ๙๐๕ วรรคสาม เพราะ ป .พ.พ. ๙๙๙ เป็ น บทบัญญัติพิเศษสําหรับรับเช็คขีดคร่ อม ยกเว้น มาตรา ๙๐๕ วรรคสอง
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
นายเปรื่ องไม่อาจไล่เบี้ยจากนายป้ อมเพราะนายป้ อมมิได้ลงบายมือชื่อในเช็คนั้น (ป.พ.พ. มาตรา ๙๐๐) สมัยที่ ๓๐ ปี การศึกษา ๒๕๒๐ (ข้ อ ๗) ถาม นายเอกออกเช็คสัง่ ธนาคารมหานครระบุชื่อนายโทเป็ นผูร้ ับเงิน และขีดคร่ อมเช็คนั้นชําระ หนี้ให้แก่นายโท นายโททําเช็คฉบับนี้หายไป นายตรี เก็บได้ เอาไปสลักหลังโดยปลอมชื่อว่า นายโทโอนให้นายจัตวาซึ่งรับโอนไว้โดยสุจริ ตและปราศจากความประมาทเลินเล่อ ทั้งฝ่ ายนาย โทก็มิได้รู้เห็นในการปลอม หรื อแสดงออกให้นายจัตวาหลงเชื่อว่าลายมือที่สลักหลังนั้นเป็ นของ นายโทโดยชอบแต่อย่างใด ดังนี้นายโทจะฟ้ องเรี ยกเช็คคืนจากนายจัตวาได้หรื อไม่ และถ้านาย จัตวาเอาเช็คเข้าบัญชีของตนในธนาคารสิ นไทย ธนาคารสิ นไทยเรี ยกเก็บเงินจากธนาคารมหา นครได้โดยสุจริ ตปราศจากประมาทเลินเล่อ แต่ได้ให้นายจัตวาถอนเงินนั้นไปจ่ายหมดแล้ว นาย โทจะฟ้ องเรี ยกให้ธนาคารสิ นไทยใช้เงินจํานวนนี้แก่ตนได้หรื อไม่ แนวคาตอบ นายโทฟ้ องเรี ยกเช็คคืนจากนายจัตวาได้ เพราะเมื่อนายตรี เก็บเช็คได้เอาไปสลักหลัง โอนให้นายจัตวาโดยปลอมชื่อนายโท ถึงแม้นายจัตวาจะได้รับโอนโดยสุจริ ตและปราศจากความ ประมาทเลินเล่อก็ตาม ลายมือชื่อปลอมนั้นเป็ นอันใช้ไม่ได้เลย ทั้งนายโทก็ไม่อยูใ่ นฐานเป็ นผู้ ต้องตัดบทมิให้ยกข้อลายมือชื่อปลอมชึ้นต่อสูน้ ายจัตวา จึงจะอ้างอิงอาศัยแสวงสิ ทธิอย่างหนึ่ง อย่างใดเพื่อยึดหน่วงตัว๋ เงินไว้ยอ่ มไม่อาจทําได้ ตามมาตรา ๑๐๐๘ นายโทจะฟ้ องเรี ยกให้ธนาคารสิ นไทยใช้เงินแก่ตนไม่ได้ เพราะธนาคารสิ นไทยได้รับ เงินไว้เพื่อนายจัตวาผูเ้ คยค้าของตนโดยสุจริ ตและปราศจากประมาทเลินเล่อ อันเป็ นเงินที่ ธนาคารมหานครใช้ให้ตามเช็คขีดคร่ อม แม้นายจัตวาไม่มีสิทธิในเช็คนั้น ธนาคารสิ นไทยก็นหา ต้องรับผิดต่อนายโทผูเ้ ป็ นเจ้าของเช็คอันแท้จริ งไม่ ตามมาตรา ๑๐๐๐ สมัยที่ ๓๑ ปี การศึกษา ๒๕๒๑ (ข้ อ ๖) ถาม จันทร์ออกตัว๋ แลกเงินฉบับหนึ่งสัง่ อาทิตย์ให้จ่ายเงินแกอังคาร ดังคารสลักหลังโอนตัว๋ ให้ พุธ พุธได้ยนื่ ตัว๋ ให้อาทิตย์รับรอง และอาทิตย์ได้รับรองให้แล้ว ต่อมาพุธสลักหลังโอนตัว๋ ให้
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
พฤหัส แล้วพฤหัสสลักหลังโอนตัว๋ ชําระหนี้ให้องั คาร ครั้นถึงกําหนดอังการนําไปยืน่ ต่ออาทิตย์ เพื่อให้ใช้เงิน อาทิตย์ไม่ใช้ อังคารทําคําคัดค้านไว้แล้ว ดังนี้ให้วินิจฉัยว่า ใครจะต้องรับผิดและ ไม่ตอ้ งรับผิดต่ออังคารบ้าง แนวคาตอบ ๑. อาทิตย์ รับผิดต่ออังคารในฐานะเป็ นผูจ้ ่ายที่ได้ลงบายมือชื่อรับรองตัว๋ แลกเงิน (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๙๗ , ๙๖๗ , ๙๐๐) ๒. จันทร์รับผิดต่ออังคารในฐานะลงบายมือชื่อเป็ นผูส้ งั่ จ่ายตัว๋ แลกเงิน (ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๑๔ , ๙๘๗ , ๙๐๐) ๓. พุธและพฤหัสไม่ตอ้ งรับผิดต่ออังคาร เพราะทั้งพุธและพฤหัสเป็ นคู่สญ ั ญาฝ่ าย ซึ่งอังการย่อมต้องรับผิดต่อเขาทั้งสองอยูก่ ่อนแล้วตามตัว๋ แลกเงินฉบับนั้น (ประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๗๑) สมัยที่ ๓๒ ปี การศึกษา ๒๕๒๒ ถาม เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๒๓ นายฉิ่ งออกเช็คสัง่ ธนาคารใช้เงิน ๑๐,๐๐๐ บาท ให้แก่ผถู้ ือ แต่มิได้ลงวันที่ออกเช็คไว้ มีนายสําเภาลงชื่อไว้ที่มุมบนด้านหน้าของเช็คด้วย แล้ว นายฉิ่ งมอบเช็คนั้นให้นายช้าง เพื่อเป็ นการชําระหนี้เงินกู้ ต่อมาวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๓ นายช้างมอบเช็คดังกล่าวให้นายโซ่นอ้ งชายไปยืน่ ต่อธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน นางสาวชฎา พนักงานธนาคารได้ใช้ตราวันที่ประทับลงในช่องวันที่ออกเช็คเป็ นวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๓ ตามวันที่ยนื่ ปรากฏว่าเงินในบัญชีของนายฉิ่ งในธนาคารไม่พอจ่าย ธนาคารจึงปฏิเสธการจ่ายเงิน นายช้างฟ้ องนายฉิ่ งและนายสําเภาให้ร่วมกันรับผิดใช้เงินตามเช็คนั้น นายฉิ่ งและนายสําเภาต่อสู้ คดีวา่ เช็คพิพาทออกเมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๒๓ แต่ไม่ลงวันที่ออกไว้ วันที่นางสาวชฎาใช้ ตราประทับลงไปมิใช่วนั ที่ถกู ต้องแท้จริ ง ทั้งนางสาวชฎามิใช้ผทู้ รง ไม่มีอาํ นาจลงวันที่ออกเช็ค ต้องถือว่าเช็คพิพาทไม่มีวนั ที่ออกเช็ค นายฉิ่ ง นายสําเภาไม่ตอ้ งรับผิดชอบ และเฉพาะนาย สําเภาต่อสูค้ ดีดว้ ยว่า เช็คพิพาทเป็ นเช็คสัง่ ให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือ ตนลงชื่อลอย ๆ ด้านหน้าเช็คไม่ เป็ นคู่สญ ั ญาในเช็คจึงไม่ตอ้ งรับผิด ให้ท่านวินิจฉัยว่าข้อต่อสูข้ องนายฉิ่ งและนายสําเภาฟังขึ้น หรื อไม่ แนวคาตอบ ข้อต่อสูข้ องนายฉิ่ งและนายสําเภาฟังไม่ข้ ึน
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
เช็คไม่มีวนั ที่ออกเช็ค ผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมายคนหนึ่งคนใดทําการโดยสุจริ ต จะ จดวันที่แท้จริ งลงไปก็ได้ (ป.พ.พ. มาตรา ๙๑๐ วรรคสุดท้าย ประกอบด้วยมาตรา ๙๘๙) การที่ นายฉิ่ งไม่ลงวันที่ออกเช็คพิพาทไว้ไม่ปรากฏว่าเพราะเหตุใด แสดงอยูใ่ นตัวว่ามีเจตนามอบหมาย ให้ผทู้ รงไปลงวันที่ออกเช็คเองได้ตามที่เห็นสมควร เมื่อผูท้ รงลงวันใดย่อมเป็ นวันที่ถกู ต้อง แท้จริ งนางสาวชฎามิใช่ผทู้ รงแต่การที่นางสาวชฎาลงวันที่ออกเช็คไปในกรณี น้ ีเป็ นการกระทํา แทนนายช้างผูท้ รง ทั้งได้ลงวันที่ออกเช็คตามวันที่นายโซ่นาํ เช็คไปขึ้นธนาคารเพื่อให้ใช้เงินมิได้ แสดงว่าไม่สุจริ ตแต่อย่างใด จึงถือได้วา่ นายช้างผูท้ รงกระทําโดยสุจริ ตจดวันที่ถกู ต้องแท้จริ งลง แล้ว เช็คพิพาทจึงสมบูรณ์เป็ นเช็ค (คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๓๐๓/๒๕๑๔ และ ๑๐๐๙/๒๕๑๘) นายฉิ่ งต้องรับผิดในฐานผูส้ งั่ จ่ายตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๐๐ , ๙๑๔ , ๙๖๗ , ๙๘๙ ส่วนนายสําเภานั้นต้องรับผิดในฐานผูร้ ับอาวัล เพราะการที่นายสําเภาเพียงแต่ลงชื่อ ด้านหน้าเช็คนั้น แม้เป็ นเช็คสัง่ ให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือก็จดั ว่าเป็ นคํารับอาวัลแล้ว ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๓๙ วรรคสาม เมื่อมิได้ระบุวา่ รับประกันผูใ้ ด ก็ถือว่าเป็ นการรับประกันนายฉิ่ งผูส้ งั่ จ่ายตาม มาตรา ๙๓๓ วรรคสี่ และต้องผูกพันเป็ นอย่างเดียวกันกับนายฉิ่ งตามมาตรา ๙๔๐ วรรคแรก ๙๖๗, ๙๘๙ ดังนั้น นายฉิ่ งและนายสําเภาจึงต้องร่ วมกันรับผิดใช้เงินตามเช็คพิพาทแก่นายช้าง สมัยที่ ๓๓ ปี การศึกษา ๒๕๒๓ (ข้ อ ๖) ถาม นายจืดออกตั้งแลกเงินลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๒๓ สัง่ นายหวานให้จ่ายเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท แก่นายเค็มเพื่อชําระหนี้ เป็ นตัว๋ ซึ่งให้ใช้เงินเมื่อได้เห็น นายเค็มได้รับตัว๋ แล้วลงลายมือ ด้านหลังตัว๋ โอนใช้หนี้นายเปรี้ ยวโดยมิได้ระบุชื่อผูร้ ับประโยชน์ นายเปรี้ ยวส่งมอบโอนตัว๋ นั้น ให้แก่นายเผ็ดเพื่อชําระหนี้ แต่นายเปรี้ ยวลืมสลักหลังตัว๋ และนายเผ็ดก็มิได้ทกั ท้วง ครั้นวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๔ นายเผ็ดนําตัว๋ ไปยืน่ ต่อนายหวานเพื่อให้ใช้เงิน นายหวานไม่ยอมใช้เงินตาม ตัว๋ นายเผ็ดจึงไปต่อว่านายจืด นายจืดเถียงว่านายเผ็ดไม่มีสิทธิในตัว๋ อีก ทั้งเป็ นความผิดของนาย เผ็ดเองที่นาํ ตัว๋ ไปยืน่ ทวงเงินจากนายหวานเมื่อเกิน ๓ เดือน นับแต่วนั ออกตัว๋ ฉบับนั้น ดังนี้ นายเผ็ดมีสิทธิ์ไล่เบี้ยเรี ยกร้องเงินตามตัว๋ เอาแก่นายจืด นายเค็ม นายหวาน และ นายเปรี้ ยวได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด แนวคาตอบ ในประเด็นเรื่ องสิ ทธิของนายเผ็ด การสลักหลังของนายเค็มเป็ นสลักหลังลอย เมื่อนายเปรี้ ยวได้รับตัว๋ แลกเงินจากการสลักหลังลอยแล้ว นายเปรี้ ยวอาจโอนตัว๋ นั้นให้แก่นาย
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
เผ็ดโดยไม่กรอกข้อความลงในที่วา่ งและไม่สลักหลังอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้ นายเผ็ดได้ตวั๋ นั้นไว้ ครอบครอง กฎหมายไม่ถือว่านายเผ็ดได้รับตัว๋ มาโดยการสลักหลังขาดสาย นายเผ็ดจึงเป็ นผูท้ รง มีสิทธิในตัว๋ แลกเงินฉบับนั้น (ป.พ.พ. มาตรา ๙๑๙, ๙๒๐ (๓), ๙๐๔ ๙๐๕ วรรคแรก) นายเผ็ดมีสิทธิ์ไล่เบี้ยเงินตามตัว๋ เอาแก่นายจืด เพราะนายจืดลงลายมือชื่อเป็ นผูส้ งั่ จ่ายตัว๋ แลกเงิน (ป.พ.พ. มาตรา ๙๐๐, ๙๑๔, ๙๖๗) ข้อเถียงของนายจืดที่วา่ นายเผ็ดนําตัว๋ ยืน่ ให้ใช้เงินเมื่อ เกิน ๓ เดือน นับแต่วนั ออกตัว๋ ฟังไม่ข้ ึน ตัว๋ ฉบับนี้เป็ นตัว๋ สัง่ ให้ใช้เงินเมื่อได้เห็น นายเผ็ดได้นาํ ตัว๋ ไปยืน่ ให้นายหวานใช้เงินภายใน ๖ เดือน นับแต่วนั ที่ลงตัว๋ เงิน นายเผ็ดจึงไม่สิ้นสิ ทธิไล่เบี้ย เอาแก่ผสู้ งั่ จ่ายและผูส้ ลักหลังตัว๋ (ป.พ.พ. มาตรา ๙๐๐) สมัยที่ ๓๕ ปี การศึกษา ๒๕๒๕ (ข้ อ ๖) ถาม มกราเป็ นลูกค้าเปิ ดบัญชีเงินฝากกระแสรายวันไว้กบั ธนาคารกุมภา จํากัด เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๒๕ บัญชีเงินฝากของมกรามียอดเงินคงเหลือเพียง ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ธนาคาร กุมภาจํากัด ได้จ่ายเงินตามเช็ค ๒ ฉบับ ฉบับหนึ่งเงิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท อีกฉบับหนึ่งเงิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท ให้แก่ผทู้ รงไป ต่อมาปรากฏว่าเช็คฉบับเงิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท นั้น ลายมือชื่อ มกราผูส้ งั่ จ่ายเป็ นลายมือปลอม ดังนี้ การที่ธนาคารจ่ายเงินไปตามเช็ค ๒ ฉบับดังกล่าว เป็ น การชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่เพียงใด แนวคาตอบ กรณี ไม่มีเงินในบัญชีของผูเ้ คยค้าเป็ นเจ้าหนี้พอจะจ่ายตามเช็คตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๑ (๑) นั้น เป็ นบทบัญญัติให้สิทธิแก่ธนาคารที่จะปฏิเสธการจ่ายเงินก็ได้ หรื อถ้า ธนาคารเห็นสมควรจะจ่ายไปก็ได้ (เทียบคําพิพากษาฎีกาที่ ๓๓๓๒/๒๕๒๒ น. ๒๕๕๐) ฉะนั้น การจ่ายเงินตามเช็คที่เบิกเกินบัญชีจึงเป็ นการชอบด้วยกฎหมาย แต่สาํ หรับเช็คฉบับเงิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ที่ลายมือชื่อผูส้ งั่ จ่ายปลอมนั้น เช็คนั้นเป็ นอันใช้ไม่ได้ ธนาคารจะอ้างอิงอาศัย แสวงสิ ทธิเพื่อทําให้เช็คนั้นหลุดพ้นไม่ได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๐๘ ทั้งการที่ธนาคารจ่ายเงิน ตามเช็คที่ลายมือชื่อผูส้ งั่ จ่ายปลอมยังเป็ นการใช้เงินโดยประมาณเลินเลอตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๐๙ อีกด้วย ฉะนั้น การจ่ายเงินตามเช็คฉบับ ๒๐๐,๐๐๐ บาทนี้ จึงไม่เป็ นการชอบด้วย กฎหมาย สมัยที่ ๓๖ ปี การศึกษา ๒๕๒๖ (ข้ อ ๗) ถาม เอกออกเช็คสัง่ ให้ธนาคารลานนา กํากัด จ่ายเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ให้โทเป็ นผูร้ ับเงิน โดยมีเส้นขนานคู่ขีดขวางไว้ขา้ งด้านหน้าเช็ค แล้วมอบเช็คชําระหนี้ให้โทเนื่องจากโทประสงค์ จะมอบเช็คให้ลกู จ้างนําไปฝากเข้าบัญชีเงินฝาก โทจึงลงลายมือชื่อด้านหลังเช็คและเติมคําว่า
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
“ห้ามเปลี่ยนมือ” ที่ดา้ นหน้าเช็คด้วย แต่ตรี ลกั เช็คฉบับนั้นไปโอนโดยส่งมอบชําระหนี้ให้จตั วา ซึ่งรับโอนเช็คนั้นมาโดยสุจริ ต ต่อมาจัตวานําเช็คฝากเข้าบัญชีเงินฝากของตนที่ธนาคารทักษิณ จํากัด เพื่อให้เรี ยกเก็บเงินและธนาคารลานนา จํากัด ผูจ้ ่ายได้ใช้เงินตามเช็คให้แก่ธนาคารทักษิณ จํากัด นํามาเข้าบัญชีเงินฝากของจัตวา ให้วินิจฉัยว่า (๑) ธนาคารลานนา จํากัด ใช้เงินตามเช็คให้แก่ธนาคารทักษิณ จํากัด นั้น ชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่ (๒) โทมีสิทธิเรี ยกร้องเงินตามเช็คคืนจากจัตวาได้หรื อไม่ได้ เพราะเหตุใด แนวคาตอบ (๑) เช็คที่มีเส้นขนานคู่ขีดขวางไว้ขา้ งด้านหน้า เป็ นเช็คขีดคร่ อมทัว่ ไปซึ่งเอกผู้ สัง่ จ่ายจะขีดคร่ อมก็ได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๔, ๙๙๕ (๑) และแม้โทผูร้ ับเงินเติมคําลงไปว่า “ห้ามเปลี่ยนมือ ตามมาตรา ๙๙๕ (๓) แต่เมื่อโทลงลายมือชื่อของตนที่ดา้ นหลังเช็คเป็ นการ สลักหลังลอยตามมาตรา ๙๑๙ วรรคสองแล้ว ตรี ซ่ ึงลักเช็คนั้นไปอานโอนเช็คได้โดยไม่สลัก หลัง ตามมาตรา ๙๒๐ (๓) จัตวาจึงได้เช็คนั้นมาโดยการสลักหลังที่ไม่ขาดสายตามมาตรา ๙๐๕ เหตุน้ ีธนาคารลานนา จํากัด ใช้เงินตามเช็คขีดคร่ อมทัว่ ไปดังกล่าวให้แก่ธนาคารทักษิณ จํากัด ที่ส่งเช็คมาเรี ยกเก็บแทนจัตวา จึงเป็ นการใช้เงินตามเช็คนั้นโดยสุจริ ตและปราศจากประมาทเล่อ เล่อ ชอบด้วยมาตรา ๙๙๘ (๒) แม้จตั วาได้เช็คมาโดยชอบด้วยมาตรา ๙๐๕ แต่ตรี ผโู้ อนเช็คให้จตั วาเป็ น คนร้ายที่ลกั เช็คนั้นของโทไป จัตวาผูไ้ ด้เช็คขีดคร่ อมซึ่งมีคาํ ว่า “ห้ามเปลี่ยนมือ ” ของโทย่อมไม่ มีสิทธิในเช็คนั้นยิง่ ไปกว่าตรี บุคคลอันจนได้เช็คนั้นมาตามมาตรา ๙๙๙ ซึ่งเป็ นบทบัญญัติ คุม้ ครองสิ ทธิของเจ้าของเช็คขีดคร่ อมซึ่งมีคาํ ว่า “ห้ามเปลี่ยนมือ ” โทจึงมีสิทธิเรี ยกร้องเงินตาม เช็คคืนจากจัตวาได้ สมัยที่ ๓๗ ปี การศึกษา ๒๕๒๗ (ข้ อ ๖) ถาม แดงสัง่ จ่ายเช็คจํานวนเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท ระบุชื่อขาวเป็ นผูร้ ับเงิน แล้วมอบเช็คชําระ หนี้ให้ขาว ขาวทําเช็คตกหาย ดําเก็บได้ ได้แก้ไขเพิ่มเติมจํานวนเงินในเช็คเป็ น ๔๕๐,๐๐๐ บาท โดยการแก้ไขเปลี่ยนแปลงนั้นไม่ประจักษ์ และปลอมลายมือชื่อขาวสลักหลังชําระหนี้ให้ เหลือง ต่อมาธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ดังนี้ (๑) ถ้าขาวเรี ยกเช็คคืนจากเหลือง ขาวหรื อเหลืองจะเป็ นผูม้ ีสิทธิในเช็คตาม เนื้อความเดิมก่อนมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคือจํานวนเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท หรื อไม่
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
(๒) เหลืองจะมีสิทธิเรี ยกร้องให้แดงรับผิดใช้เงินตามเช็คในจํานวนเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท หรื อ ๔๕๐,๐๐๐ บาท ได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด แนวคาตอบ (๑) ลายมือชื่อขาวที่สลักหลังเช็คเป็ นลายมือชื่อปลอมจึงเป็ นอันใช้ไม่ได้เลย เหลืองผูร้ ับโอนเช็คจากการสลักหลังปลอมจะอ้างอิงอาศัยแสวงสิ ทธิเพื่อยึดหน่วงตัว๋ เงินไว้หรื อ เพื่อบังคับการใช้เงินไม่ได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๐๘ ดังนั้นเหลืองจึงไม่มีสิทธิในเช็คตาม เนื้อความเดิมก่อนมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลง ส่วนขาวผูท้ รงคนเดิมมีสิทธิในเช็คตามเนื้อความเดิม ก่อนมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคือจํานวนเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท (๒) ด้วยเหตุตามข้อ (๑) เหลืองก็ไม่สิทธิบงั คับการใช้เงินเอาแก่แดงผูส้ งั่ จ่ายตาม มาตรา ๑๐๐๐๘ ดังกล่าว ดังนี้ แม้การแก้ไขเปลี่ยนแปลงจํานวนเงินตามเช็คนั้นไม่ประจักษ์ แต่ เมื่อเหลืองผูร้ ับโอนเช็คจากการสลักหลังปลอมไม่เป็ นผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา ๙๐๔, ๙๐๕ เสี ยแล้ว ย่อมไม่มีสิทธิบงั คับการใช้เงินตามเนื้อความเดิมแห่งตัว๋ นั้น คือจํานวน ๕๐,๐๐๐ บาท ตามมาตรา ๑๐๐๗ วรรคสอง อีกทั้งแดงก็ไม่ใช่ค่สู ญ ั ญาซึ่งเป็ นผูท้ าํ การแก้ไข เปลี่ยนแปลงนั้น หรื อได้ยนิ ยอมด้วยกับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงนั้น หรื อเป็ นผูส้ ลักหลังใน ภายหลัง เหลืองจึงไม่มีสิทธิเรี ยกร้อยงให้แดงรับผิดใช้เงินตามเช็คที่แก้ไขเปลี่ยนแปลงคือจํานวน เงิน ๔๕๐,๐๐๐ บาท ตามมาตรา ๑๐๐๗ วรรคหนึ่งด้วย สมั้ยที่ ๓๘ ปี การศึกษา ๒๕๒๘ (ข้ อ ๖) ถาม แดงผูฝ้ ากเงินไว้ในธนาคารเงินแท้จาํ กัด ได้สงั่ จ่ายเช็คใช้หนี้ขาวเป็ นเช็คขีดคร่ อมทัว่ ไป จํานวนเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ระบุชื่อขาวเป็ นผูร้ ับเงิน ดําลักเช็คฉบับนั้นแล้วสลักหลังปลอม ลายมือชื่อขาวโอนเช็คชําระหนี้ให้แก่เหลือง เหลืองนําเช็คฝากเข้าบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของ ตนที่ธนาคารทองแท่ง จํากัด เนื่องจากตามระเบียบปฏิบตั ิระหว่างธนาคารพาณิ ชย์กาํ หนดให้ ธนาคารผูส้ ่งเช็คไปเรี ยกเก็บเงิน ต้องสลักหลังรับรองลายมือชื่อผูท้ รงที่สลักหลังเช็คเมื่อนําเช็ค ฝากเพื่อให้เรี ยกเก็บ ธนาคารผูจ้ ่ายจึงจะยอมจ่ายเงินตามเช็คให้ ธนาคารทองแท่ง จํากัด จึงได้ให้ เหลืองลงลายมือชื่อสลักหลังเช็ค และธนาคารก็ได้ลงลายมือชื่อใต้ขอ้ ความว่า “รับประกันผูส้ ลัก หลัง” ในเช็คนั้นด้วย ต่อมาธนาคารเงินแท้ จํากัด ได้จ่ายเงินตามเช็ค จํานวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ให้แก้ธนาคารทองแท่ง จํากัด ตามที่ธนาคารทองแท่ง จํากัด เรี ยกเก็บและนําเข้าบัญชีเงินฝาก ของเหลือง ดังนี้ ให้วินิจฉัยว่า (๑) ขาวมีสิทธิเรี ยกร้องเงินตามเช็คคืนจากเหลืองได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
(๒) การที่ลายมือชื่อขาวที่สลักหลังเช็คเป็ นลายมือชื่อปลอมนั้น ธนาคารทองแท่ง จํากัด ต้องรับผิดต่อขาวหรื อไม่ แนวคาตอบ (๑) การที่ลายมือชื่อขาวผูส้ ลักหลังเป็ นลายมือชื่อปลอม ย่อมเป็ นอันใช้ไม่ได้ เหลืองจึงไม่มีสิทธิบงั คับการใช้เงินเอาแก่ธนาคารเงินแท้ จํากัด ผูจ้ ่ายเงินตามเช็ค ตามมาตรา ๑๐๐๘ ดังนั้น เมื่อเหลืองได้รับเงินตามเช็คไปแล้ว ขาวผูท้ รงเจ้าของอันแท้จริ งแห่งเช็คนั้นจึงมี สิ ทธิเรี ยกร้องตามเช็คคืนจากเหลืองผูไ้ ม่มีสิทธิในเช็คได้ ฐานลาภมิควรได้ตามมาตรา ๔๐๖ (เทียบคําพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๕๔/๒๕๒๔, ๑๖๓๗/๒๕๒๕) (๒) ข้อความรับประกันผูส้ ลักหลังที่ธนาคารทองแท่ง จํากัด รับรองตาม ระเบียบปฏิบตั ิระหว่างธนาคารพาณิ ชย์น้ นั เป็ นการรับรองเฉพาะลายมือชื่อเหลืองผูเ้ คยค้าที่ลง ลายมือชื่อสลักหลังเช็คเพื่อให้เรี ยกเก็บเงินตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙๔๕, ๙๙๕ (๕) เท่านั้น เหตุน้ ี แม้ลายมือชื่อขาวที่สลักหลังโอนเช็คให้แก่เหลืองเป็ นลายมือชื่อปลอม เหลืองไม่มีสิทธิในเช็คนั้น ตามมาตรา ๑๐๐๘ ดังกล่าวในข้อ (๑) แต่เมื่อไม่ปรากฏว่าธนาคารทองแท่ง จํากัด ไม่สุจริ ตหรื อ ประมาทเลินเล่อ ธนาคารย่อมไม่ตอ้ งรับผิดต่อขาวเจ้าของอันแท้จริ งแห่งเช็คนั้นตามมาตรา ๑๐๐๐ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๒๐/๒๕๑๕) สมัยที่ ๓๙ ปี การศึกษา ๒๕๒๙ (ข้ อ ๖) ถาม เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๒๙ เงินในบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน ของนายเอกที่ธนาคาร ธนการ จํากัด มีอยูจ่ าํ นวน ๑๐๐,๕๐๐ บาท ในวันนั้นนายเอกได้ออกเช็คสองฉบับสัง่ จ่ายเงิน ฉบับละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ลงวันที่ล่วงหน้าเป็ นวันที่ ๑ สิ งหาคม ๒๕๒๙ และวันที่ ๕ สิ งหาคม ๒๕๒๙ ระบุชื่อนายโทและนายตรี เป็ นผูร้ ับเงินตามลําดับ โดยเช็คฉบับหลังนายเอก ขอให้ธนาคารลงข้อความว่า “ใช้ได้” และลงลายมือชื่อไว้ดว้ ย นายตรี สลักหลังโอนเช็คให้นาย จัตวา ครั้นถึงวันที่ลงไว้ในเช็คฉบับแรก นายโทยืน่ เช็ค และธนาคารธนการ จํากัด จ่ายเงินตาม เช็คจํานวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ให้นายโทรับไป ต่อมาถึงวันลงไว้ในเช็คฉบับหลัง นายจัตวายืน่ เช็ค แต่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน อ้างว่าเงินในบัญชีไม่พอจ่าย ดังนี้ การที่ธนาคารธนการ จํากัด จ่ายเงินตามเช็คให้นายโทรับไปและปฏิเสธการจ่ายเงิน ตามเช็คให้แก่นายจัตวานั้น ชอบหรื อไม่ และนายจัตวามีสิทธิเรี ยกร้องให้นายเอก นายตรี กับ ธนาคารธนการ จํากัด รับผิดใช้เงินตามเช็คได้หรื อไม่ แนวคาตอบ ธนาคารจําต้องใช้เงินตามเช็คผูซ้ ่ ึงเคยค้ากับธนาคารได้ออกเบิกเงินแก่ตน เว้นแต่ กรณี ที่มีบทบัญญัติยกเว้นไว้ ดังนั้น เมื่อมีเงินในบัญชีของนายเอกเป็ นเจ้าหนี้พอจะจ่ายตามเช็คที่
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
นายโทเป็ นผูท้ รง ธนาคารธนการ จํากัด ผูจ้ ่ายได้จ่ายเงินตามเช็คฉบับแรกให้นายโทรับไป จึง ชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๙๑ (๑) ส่วนเช็คฉบับหลังที่ธนาคารธน การ จํากัด เขียนข้อความลงลายมือชื่อบนเช็คว่า “ใช้ได้” ธนาคารจึงต้องผูกพันในฐานเป็ น ลูกหนี้ช้ นั ต้นในอันจะต้องใช้เงินแก่นายจัตวาผูท้ รงตามเช็คนั้น ตามมาตรา ๙๙๓ วรรคหนึ่ง ด้วยเหตุน้ ี แม้เงินในบัญชีของนายเอกไม่พอจ่าย ธนาคารธนการ จํากัด ก็ตอ้ งใช้เงินตามเช็ค ให้แก่นายจัตวาผูท้ รง การปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คจึงไม่ชอบ การที่ธนาคารลงข้อความรับรองโดยคําขอร้องของนายเอกผูส้ งั่ จ่ายนั้น นายเอกผูส้ งั่ จ่าย และนายตรี ผสู้ ลักหลังหาหลุดพ้นความรับผิดไม่ตามมาตรา ๙๙๓ วรรคสาม นายจัตวาจึงมีสิทธิ เรี ยกร้องให้นายเอกและนายตรี ร่วมกันรับผิดใช้เงินตามเช็คตามมาตรา ๙๐๐, ๙๑๔, ๙๕๙, ๙๖๗ วรรคหนึ่งและสอง, ๙๘๙ กับเรี ยกร้องให้ธนาคารธนการ จํากัด รับผิดในฐานเป็ นลูกหนี้ช้ นั ต้น ตามมาตรา ๙๙๓ วรรคหนึ่ง ดังกล่าวข้างต้นไว้ดว้ ย สมัยที่ ๔๐ ปี การศึกษา ๒๕๓๐ (ข้ อ ๖) ถาม นายกิ่งลงลายมือชื่อสัง่ จ่ายเช็ค ๕๐,๐๐๐ บาท ใช้หนี้นายแก้ว ระบุชื่อนายแก้วเป็ นผูร้ ับ เงิน นางกาญจนาเพื่อนของนายกิ่งลงลายมือชื่อไว้บนด้านหน้าเช็คนั้นด้วย นายแก้วได้รับเช็ค แล้วนําไปส่งมอบให้นายแสงยึดถือไว้เป็ นประกันหนี้ที่นายแก้วกูเ้ งินนายแสง หลังจากนั้น ๑ เดือน นายแก้วประสบอัคคีภยั ไม่มีทรัพย์สินใดๆ เหลืออยูเ่ ลย นายแสงเห็นว่านายแก้วหมด หนทางที่จะใช้หนี้ตนได้ จึงสลักหลังเช็คนั้นโอนให้นายสว่างเป็ นค่าสิ นค้าที่ตนซื้อจากนายสว่าง นายสว่างเห็นว่านายกิ่งผูส้ งั่ จ่ายมีฐานะดีมากจึงยอมรับชําระหนี้ดว้ ยเช็คดังกล่าว เมื่อนายสว่างยืน่ เช็คแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน ธนาคารปฏิเสธการใช้เงินโดยอ้างว่านายกิ่งปิ ดบัญชีเงินฝากไปนาน แล้ว นายสว่างเรี ยกร้องนายกิ่ง นางกาญจนา นายแก้วและนายแสงให้รับผิดใช้เงินตามเช็ค นั้น ดังนี้ ใครจะต้องรับผิดและไม่ตอ้ งรับผิดใช้เงินตามเช็คให้แก่นายสว่างเพราะเหตุใด แนวคาตอบ เช็คพิพาทระบุชื่อนายแก้วเป็ นผูร้ ับเงิน มิใช่เช็คที่ออกให้แก่ผถู้ ือไม่อาจโอนไป เพียงด้วยส่งมอบให้กนั แต่จะต้องโอนด้วยสลักหลังและส่งมอบ (ประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิ ชย์ มาตรา ๙๑๗, ๙๑๘, ๙๘๙) ๑. นายกิ่งผูส้ งั่ จ่ายไม่ตอ้ งรับผิดต่อนายสว่าง เพราะนายแก้วผูร้ ับเงินมิดได้สลักหลังเช็ค เพียงแต่ส่งมอบเช็คให้นายแสง เช็คจึงมิได้โอนไปยังนายแสง นายแสงสลักหลังเช็คนั้นให้ นายสว่าง การสลักหลังจึงขาดสาย กฎหมายไม่ถือว่านายสว่างผูไ้ ด้เช็คไว้ในครอบครองเป็ นผู้
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ทรงโดยชอบด้วยกฎหมาย นายสว่างจึงไม่มีสิทธิเรี ยกร้องให้นายกิ่งรับผิดต่อตน (ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๐๕ วรรคแรก ๒. นางกาญจนาแม้ จะเป็ นผู้รับอาวัลเช็คตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๙๓๙ วรรคสาม ประกอบด้ วยมาตรา ๙๘๙ ก็ไม่ ต้องรับผิดต่ อนายสว่ าง เพราะนายสว่ างได้ เช็ค มาด้ วยการสลักหลังขาดสาย กฎหมายไม่ ถือว่ านายสว่ างเป็ นผู้ทรงเช็คโดยชอบด้ วยกฎหมาย นายสว่ างจึงไม่ มสี ิ ทธิเรียกร้ องให้ นางกาญจนารับผิดต่ อตน (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๙๐๕ วรรคแรก) กรณี ไม่ตอ้ งด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๔๐ วรรคสอง ประกอบด้วยมาตรา ๙๘๙ ผูร้ ับอาวัลไม่ตอ้ งรับผิดต่อผูท้ ี่มิใช่ผทู้ รงตัว๋ เงิน ๓. นายแก้วไม่ ต้องรับผิดต่ อนายสว่ าง เพราะนายแก้วมิได้ ลงลายมือชื่อของตนในเช็ค (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๙๐๐) ๔. นายแสงต้ องรับผิดต่ อนายสว่ าง เพราะนางแสงลงลายมือชื่อสลักหลังโอนเช็คนั้นให้ นายสว่ าง นายสว่ างเป็ นผู้รับสลักหลังจึงเป็ นผู้ทรงเช็ค (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๙๐๐, ๙๐๔, ๙๑๔ ประกอบด้ วยมาตรา ๙๘๙)
สมัยที่ ๔๑ ปี การศึกษา ๒๕๓๑ ถาม เงินทุนทองดี จํากัด ต่างฝ่ ายต่างออกตัว๋ สัญญาใช้เงินฝ่ ายละหนึ่งฉบับให้แก่กนั ตัว๋ ทั้ง สองฉบับลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๓๐ จํานวนเงินฉบับละยีส่ ิ บล้านบาท สัญญาใช้เงินภายใน กําหนดหนึ่งปี นับแต่วนั ออกตัว๋ ระบุชื่อบริ ษทั อีกฝ่ ายหนึ่งเป็ นผูร้ ับเงิน โดยไม่ได้กาํ หนดดอกเบี้ย ไว้ในตัว๋ แล้วส่งมอบตัว๋ ให้ไว้แก่กนั และกัน ทั้งนี้ เพื่อแสดงว่าผูร้ ับเงินเงิน โดยไม่ได้กาํ หนด ดอกเบี้ยไว้ในตัว๋ แล้วส่งมอบตัว๋ ให้ไว้กนั และกัน ทั้งนี้เพื่อแสดงว่า บริ ษทั เงินทุนทั้งสองแห่งมี ฐานะการเงินดี ต่อมาวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๓๐ บริ ษทั เงินทุนทองดี จํากัด นําตัว๋ สัญญาใช้เงินที่ บริ ษทั เงินทุนทองแท้ จํากัด เป็ นผูอ้ อกตัว๋ ไปสลักหลังจํานําและส่งมอบตัว๋ เงินนั้นเพื่อประกันหนี้ ให้ไว้แก่ธนาคารศรี เมือง จํากัด ครั้นถึงกําหนดธนาคารเรี ยกเก็บเงินตามตัว๋ นั้นเพื่อประกันหนี้ให้ ไว้แก่ธนาคารศรี เมือง จํากัด ครั่งถึงกําหนดธนาคารเรี ยกเก็บเงินตามตัว๋ พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ ๑๔
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ต่อปี ตามอัตราทัว่ ไปที่เรี ยกเก็บจากลูกค้าตั้งแต่วนั รับจํานําตัว๋ จนกว่าจะใช้เงินเสร็ จจากบริ ษทั เงินทุนทองแท้ จํากัด ผูอ้ อกตัว๋ นั้น แต่บริ ษทั เงินทุนทองแท้ จํากัด ปฏิเสธการใช้เงินโดยอ้างว่า ธนาคารศรี เมือง จํากัด เป็ นเพียงผูร้ ับจํานําไม่มีสิทธิเรี ยกร้องให้ใช้เงินตามตัว๋ พร้อมดอกเบี้ยตาม อัตราดังกล่าว ซึ่งไม่ได้กาํ หนดไว้ในตัว๋ กับต่อสูว้ า่ ตัว๋ เงินพิพาทที่ตนออกให้บริ ษทั เงินทุนทองดี จํากัด เป็ นผูร้ ับเงินนั้น เป็ นตัว๋ เงินที่ไม่มีมูลหนี้ต่อกันด้วย ให้วินิจฉัยว่า ข้ออ้างดังกล่าวฟังขึ้นหรื อไม่เพียงใด แนวคาตอบ เมื่อบริ ษทั เงินทุนทองดี จํากัด ซึ่งมีชื่อเป็ นผูร้ ับเงินตามตัว๋ สัญญาใช้เงินได้สลัก หลังจํานํา และส่งมอบตัว๋ เงินให้ไว้แก่ธนาคารศรี เมือง จํากัด ธนาคารผูร้ ับจํานําจะใช้สิทธิท้ งั ปวง อันเกิดแต่ตวั๋ เงินนั้นย่อมได้ท้ งั สิ้น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๐๐, ๙๒๖, ๙๔๕ ดังนั้น ธนาคารจึงมีสิทธิเรี ยกร้องเอาเงินตามตัว๋ เงินได้ (เทียบคําพิพากษาฎีกาที่ ๒๕๑๖/ ๒๕๓๐) ตัว๋ สัญญาใช้เงินพิพาทไม่มีขอ้ กําหนดไว้ให้คิดดอกเบี้ย ธนาคารย่อมไม่มีสิทธิเรี ยกเอา ดอกเบี้ยร้อยละ ๑๔ ต่อปี ตามอัตราที่เรี ยกเก็บจากลูกค้าทัว่ ไปตั้งแต่วนั รับจํานําตัว๋ จนกว่าจะใช้ เงินเสร็ จตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๖๘ (๑), ๙๘๕ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๓๕/๒๕๐๙) แต่คงมีสิทธิเรี ยกเอาดอกเบี้ยอัตราร้อยละห้าต่อปี นับแต่วนั ถึงกําหนดคือวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๓๑ เป็ นต้นไป จนกว่าจะใช้เงินเสร็ จ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๖๘(๒), ๙๘๕ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๕๓/๒๕๒๑ และคําพิพากษาฎีกาที่ ๓๑๒/๒๕๓๑ (ประชุมใหญ่) ข้อต่อสูท้ ี่วา่ บริ ษทั เงินทุนทองแท้ จํากัด ออกตัว๋ สัญญาใช้เงินให้แก่บริ ษทั เงินทุนทองดี จํากัด โดยไม่มีมูลหนี้ต่อกันนั้น เป็ นข้อต่อสูอ้ นั อาศัยความเกี่ยวพันเฉพาะบุคคลระหว่างบริ ษทั เงินทุนทองแท้ จํากัด ผูอ้ อกตัว๋ กับบริ ษทั เงินทุนทองดี จํากัด ผูส้ ลักหลังจํานํา หาอาจจะยกมาต่อสู้ ธนาคารศรี เมือง จํากัด ผูท้ รงซึ่งเป็ นผูร้ ับจํานําตัว๋ ได้ไม่ ทั้งนี้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิ ชย์ มาตรา ๙๒๖ วรรคสอง, ๙๘๕ ข้ออ้างของบริ ษทั เงินทุนทองแท้ จํากัด ทุกข์ขอ้ ฟังไม่ข้ ึน
สมัยที่ ๔๒ ปี การศึกษา ๒๕๓๒ (ข้ อ ๗)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ถาม นายจันทร์ออกเช็คลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๓๒ ที่กรุ งเทพฯ สัง่ ธนาคารพัฒนา สํานักงานใหญ่ กรุ งเทพฯ ให้จ่ายเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท ให้แก่นายเหลือง เพื่อชําระหนี้โดยระบุชื่อ นายเหลือเป็ นผูร้ ับเงินและขีดฆ่าคําว่า “หรื อผูถ้ ือ ” ในแบบพิมพ์เช็คออกกับมีนายอังคารลงชื่อไว้ ด้านหลัง เช็คเป็ นประกันด้วย นายเหลืองรับเช็คไว้แล้วหลงลืมเสี ย จนวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๓๒ จึงนําเช็คดังกล่าวไปยืน่ ต่อธนาคารพัฒนา สํานักงานใหญ่ เพื่อให้ใช้เงิน ธนาคารปฏิเสธการ จ่ายเงินอ้างว่านายเหลือยืน่ เช็คเกินกว่าเดือนหนึ่งนับแต่วนั ที่ออกเช็ค ดังนี้ นายเหลืองจะฟ้ อง เรี ยกเงินตามเช็คจากนายจันทร์ นายอังคาร และนายพัฒนาได้หรื อไม่ แนวคาตอบ นายจันทร์เป็ นผูล้ งลายมือชื่อสัง่ จ่ายเช็ค ต้องรับผิดตามเนื้อความในเช็คนั้นใน ฐานะผูส้ งั่ จ่าย ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ มาตรา ๙๐๐, ๙๑๔, ๔๕๙, ๙๖๗ ประกอบด้วยมาตรา ๙๘๙ แม้นายเหลืองผูท้ รงมิได้ยนื่ เช็คต่อธนาคารเพื่อให้ใช้เงินภายใน ๑ เดือนนับแต่วนั ออกเช็คตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๙๐ แต่กไ็ ม่ปรากฏว่าการ ไม่ยนื่ เช็คภายในกําหนดนั้นทําให้นายจันทร์ตอ้ งสูญเสี ยเงินที่มีอยูใ่ นธนาคาร เช่นธนาคาร ล้มละลายทําให้เงินของนายจันทร์ที่ฝากไว้กบั ธนาคารต้องสูญไปด้วย (คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๖๒/ ๒๕๑๕) ถือว่าการที่นายเหลือไม่ยนื่ เช็คภายในกําหนดไม่ทาํ ให้นายจันทร์ตอ้ งเสี ยหายแต่อย่างใด นายเหลือจึงไม่มีสิทธิอนั มีต่อนายจันทร์ผสู้ งั่ จ่ายตามมาตรา ๙๙๐ จึงฟ้ องเรี ยกเงินตามเช็คจากนาย จันทร์ได้
นายอังคารลงชื่อด้านหลังเช็คเพื่อเป็ นประกัน มิใช่เป็ นการสลักหลังเพื่อโอนตัว๋ เงินนาย อังคารจึงไม่เป็ นผูส้ ลักหลังตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์มาตรา ๙๑๗, ๙๑๙, ๙๒๐ แต่ เมื่อนายอังคารลงชื่อด้วยความสมัครจายอมผูกพันตนต่อนายเหลืองซึ่งเป็ นผูท้ รงในอันที่จะรับผิด อย่างเดียวกับนายจันทร์ผสู้ งั่ จ่าย นายอังคารย่อมต้องรับผิดตามเนื้อความในตัว๋ เงินนั้น ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๐๐ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๘๘/๒๕๒๔ ประชุม ใหญ่) และการที่นายเหลือไม่นาํ เช็คไปยืน่ ต่อธนาคารภายใน ๑ เดือนนับแต่วนั ออกเช็คนาย เหลืองก็ไม่มีสิ้นสิ ทธิที่จะไล่เบี้ยเอาแก่นายอังคารตามมาตรา ๙๙๐ เพราะนายอังคารมิได้มีฐานะ เป็ นผูส้ ลักหลัง นายเหลือจึงฟ้ องเรี ยกเงินตามเช็คจากนายอังคารได้
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ส่วนธนาคารพัฒนานั้น แม้ได้ปฏิเสธการจ่ายาเงิน เพราะนายเหลือผูท้ รงยืน่ เช็คต่อ ธนาคารเมื่อพ้นกําหนด ๑ เดือนก็ตาม แต่ในสัญญาตัว๋ เงิน ธนาคารมิใช่ค่สู ญ ั ญากับผูท้ รง ธนาคารไม่ตอ้ งรับผิดต่อผูท้ รง ดังนั้น นายเหลือจึงฟ้ องเรี ยกเงินตามเช็คจากธนาคารพัฒนาไม่ได้
สมัยที่ ๔๓ ปี การศึกษา ๒๕๓๓ (ข้ อ ๗) ถาม นายชํานาญออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ธนาคารกรุ งทองจ่ายเงินจํานวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท เป็ นการ ชําระหนี้ตามค่าข้าวสารให้แก่นายชํานิผรู้ ับเงิน ตัว๋ แลกเงินดังกล่าวธนาคารกรุ งทองผูจ้ ่ายได้ลง ลายมือชื่อด้านหลังใต้ขอ้ ความพิมพ์ไว้วา่ “เป็ นอาวัลคา้ ประกันผู้สั่งจ่ าย ” ด้วย ต่อมาก่อนมีการ ชําระเงินตามตัว๋ แลกเงินดังกล่าว นายชํานิผิดสัญญาซื้อขายข้าวสาร นายชํานาญจึงบอกเลิกสัญญา และขอตัว๋ แลกเงินคืน นายชํานิไม่ยอมคืนให้ นายชํานาญจึงแจ้งอายัดและบอกห้ามธนาคารกรุ ง ทองใช้เงิน แต่ปรากฏว่าธนาคารกรุ งทองจ่ายเงินตามตัว๋ แลกเงินให้นายชํานิไปนายชํานาญจึง เรี ยกร้องให้ธนาคารกรุ งทองรับผิดชดใช้เงินแก่ตน เพราะได้สงั่ ห้ามไม่ให้จ่ายเงินตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๙๒ แล้ว ธนาคารจึงต้องปฏิบตั ิตาม แต่ธนาคารกรุ งทอง ปฏิเสธไม่ยอมชดใช้เงินให้แก่นายชํานาญโดยอ้ายว่านายชํานาญจะบอกห้ามการใช้เงินไม่ได้ ให้วินิจฉัยว่า ธนาคารกรุ งทองจะต้องรับผิดชอบใช้เงินให้แก่นายชํานาญหรื อไม่ แนวคาตอบ การที่ดา้ นหน้าของตัว๋ แลกเงิน ปรากฏข้อความพิมพ์ไว้เหนือลายมือชื่อผูจ้ ่ายว่า “เป็ นอาวัลคา้ ประกันผู้สั่งจ่ าย ” ถือได้วา่ การลงลายมือชื่อของธนาคารกรุ งทองเป็ นอาวัลตาม หลักเกณฑ์ที่บญั ญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิ ชย์ ตามมาตรา ๙๓๙ วรรคหนึ่ง และ วรรคสอง ซึ่งการนี้พึงใช้ถอ้ ยคําสํานวนว่า “ใช้ได้เป็ นอาวัล ” หรื อสํานวนอื่นใดทํานองเดียวกันก็ ได้ เมื่อธนาคารกรุ งทอง เป็ นผูอ้ าวัลก็ตอ้ งบังคับตามมาตรา ๙๔๐ คือผูร้ ับอาวัลย่อมต้อง ผูกพันเป็ นอย่างเดียวกันกับบุคคลซึ่งตนประกัน หมายความว่า ธนาคารกรุ งทองมีความผูกพัน อย่างเดียวกับนายชํานาญผูส้ งั่ จ่าย ฉะนั้นการที่ธนาคารกรุ งทองใช้เงินตามตัว๋ แลกเงินซึ่งตนเป็ น ผูร้ ับอาวัล จึงเป็ นการปฏิบตั ิไปตามกฎหมาย นายชํานาญผูส้ งั่ จ่ายไม่มีอาํ นาจบอกห้ามการใช้เงิน และบทบัญญัติตามมาตรา ๙๙๒ เป็ นบทบัญญัติเรื่ องเช็คโดยเฉพาะ จะนํามาใช้กบั ตัว๋ แลกเงิน
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ไม่ได้ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๘๓๓/๒๕๒๓) ดังนั้น ธนาคารกรุ งทองจึงไม่ตอ้ งรับผิดชดใช้เงินให้แก่ นายชํานาย
สมัยที่ ๔๔ ปี การศึกษา ๒๕๓๔ (ข้ อ ๗) ถาม นาย ก. สัง่ จ่ายเช็คจํานวนเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ระบุให้นาย ข. เป็ นผูร้ ับเงิน แต่ไม่ได้ขีดฆ่าคํา ว่า “หรือผู้ถือ” อันเป็ นคําตามแบบฟอร์มในเช็คออก นาย ข. สลักหลังโอนส่งมอบให้แก่นาย ค. นาย ค. นําเช็คไปสลักหลังขายลดให้แก่ธนาคาร ธนาคารจึงชําระเงินโดยการออกเช็คของธนาคาร หรื อแคชเชียร์เช็ค จํานวนเงิน ๙๐,๐๐๐ บาท สัง่ จ่ายเงินให้แก่นาย ค. ไปนาย ค. สลักหลังโอนส่ง มอบแคชเชียร์เช็คนั้นให้นาย ง. ต่อมานาย ค. แจ้งธนาคารว่าแคชเชียร์เช็คนั้นหายโดยต้องการให้ ธนาคารออกเช็คให้ใหม่ เมื่อแคชเชียร์เช็คถึงกําหนดนาย ง. ได้นาํ ไปเรี ยกเก็บเงิน ธนาคารจึง ปฏิเสธการจ่ายเงินอ้างว่า กรณี มีคาํ บอกกล่าวว่าเช็คหาย ขณะเดียวกันเช็คที่นาย ก. สัง่ จ่าย จํานวนเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท นั้นเรี ยกเก็บเงินไม่ได้ ดังนี้ (ก) นาย ง. จะฟ้ องธนาคารผูอ้ อกแคชเชียร์เช็คให้ตอ้ งรับผิดตามเช็คได้หรื อไม่ และภายในกําหนดอายุความเท่าใด (ข) ส่วนเช็คฉบับที่นาย ก. สัง่ จ่าย ๑๐๐,๐๐๐ บาท นั้น ธนาคารจะฟ้ องเรี ยกเงิน ตามเช็คได้จากใครบ้าง และนาย ข. กับนาย ค. จะฟ้ องนาย ก. ได้หรื อไม่ ภายในกําหนดอายุ ความเท่าใด แนวคาตอบ (ก) การที่นาย งง ฟ้ องธนาคารเรี ยกให้ธนาคารชําระเงินตามแคชเชียร์เช็คที่ ธนาคารเองเป็ นผูส้ งั่ จ่ายนั้น เป็ นกรณี ที่ผทู้ รงตัว๋ เงินฟ้ องธนาคารผูส้ งั่ จ่าย ธนาคารเป็ นลูกหนี้ ชั้นต้น จึงอ้างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๙๑(๓) ว่าตนเองได้รับคําบอกห้ามการ ใช้เงินมาเป็ นข้อต่อสูไ้ ม่ใช้เงินตามเช็คนั้นไม่ได้ (คําพิพากษาฏีกาที่ ๗๗๒/๒๕๒๖) ธนาคารจึง ต้องใช้เงินตามแคชเชียร์เช็ค และอายุความฟ้ องร้องมีกาํ หนด ๑ ปี ตามมาตรา ๑๐๐๒ (ข) ส่วนเช็คที่นาย ก. เป็ นผูส้ งั่ จ่ายจํานวนเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาทนั้น เป็ นเช็ค ประเภทที่ออกให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือ (คําพิพากษาฏีกาที่ ๖๒๒/๒๕๑๒ และ ๙๙/๒๕๑๙) นาย ข. กับ นาย ค. ต่างได้สลักหลังเช็คซึ่งสัง่ ให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือ จึงต้องรับผิดในฐานะอาวัลผูส้ งั่ จ่ายตาม มาตรา ๙๒๑ ประกอบมาตรา ๙๘๙ เมื่อเช็คขึ้นเงินไม่ได้ นาย ก. ผูส้ งั่ จ่ายนาย ข. และนาย ค. ผูร้ ับ
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
อาวัล จึงต้องรับผิดต่อผูท้ รงตามมาตรา ๙๐๐, ๙๑๔, ๙๖๗, ๙๒๑, ๙๔๐ ประกอบมาตรา ๙๘๙ ธนาคารฟ้ องเรี ยกเงินจากบุคคลทั้งสามได้โดยมีอายุความ ๑ ปี ตามมาตรา ๑๐๐๒ สําหรับนาย ข. และนาย ค. ถ้าหากได้ใช้เงินให้ธนาคารไปแล้วย่อมมีสิทธิฟ้องไล่เบี้ยจาก นาย ก. ได้ตามมาตรา ๙๒๑, ๙๔๐ วรรค ๓ ประกอบมาตรา ๙๘๙ ภายในกําหนดอายุความ ๑๐ ปี เพราะทั้งสองคนมีฐานะเป็ นผูร้ ับอาวัลนาย ก. ผูส้ งั่ จ่าย กฎหมายไม่ได้กาํ หนดอายุความไว้เป็ น พิเศษจึงต้องนําอายุความทัว่ ไปตามมาตรา ๑๖๔ มาใช้ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๕๐๖/๒๕๒๘) สมัยที่ ๔๕ ปี การศึกษา ๒๕๓๕ (ข้ อ ๗) ถาม นายหนึ่งเปิ ดบัญชีเงินฝากกระแสรายวันไว้กบั ธนาคารสุโขทัย จํากัด โดยมีขอ้ ตกลงว่า การเบิกจ่ายเงินจากบัญชีตอ้ งใช้เช็คในการสัง่ จ่ายเงิน ต่อมานายหนึ่งได้สงั่ จ่ายเช็คจํานวนเงินหนึ่ง แสนบาทชําระหนี้ให้แก่นายสอง ก่อนเช็คถึงกําหนดจ่ายเงิน นายรวยซึ่งเป็ นนายจ้างของนายหนึ่ง ได้ทาํ หนังสื อแจ้งธนาคารดังกล่าวขออายัดการจ่ายเงินตามเช็ค โดยอ้างว่านายหนึ่งได้ยกั ยอกเงิน ของตนไปจํานวนสองแสนบาท ครั้นเช็คถึงกําหนดจ่ายเงิน นายสองนําเช็คฉบับนั้นไปเรี ยกเก็บ เงิน ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินทั้งที่เงินในบัญชีกระแสรายวันของนายหนึ่งมีพอที่จะจ่ายได้ นาย สองจะฟ้ องธนาคารสุโขทัย จํากัด ให้รับผิดตามเช็ค และให้รับผิดตามสัญญาข้อตกลงระหว่างนาย หนึ่งกับธนาคารที่ตกลงกันว่าการเบิกจ่ายเงินของนายหนึ่งต้องใช้เช็คเบิกจ่ายได้หรื อไม่ แนวคาตอบ เมื่อธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน สิ ทธิของนายสองในฐานะผูท้ รงเช็ค พิพาทตามกฎหมายเรื่ องตัว๋ เงินก็ได้แต่ฟ้องผูเ้ ป็ นลูกหนี้ในเช็คพิพาท ให้แก่บุคคลทั้งหลายที่ลง ลายมือชื่อในเช็คพิพาท ทั้งนี้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๐๐ และมาตรา ๙๐๑ นายสองผูท้ รงเช็คจึงได้แต่ฟ้องไล่เบี้ยเอแก่นายหนึ่งผูส้ งั่ จ่ายเช็คซึ่งต้องรับผิดตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๑๔ ประกอบด้วยมาตรา ๙๘๙ ส่วนธนาคารสุโขทัยจํากัดนั้น ไม่ได้ลงลายมือในเช็คพิพาทจึงไม่ใช่ลกู หนี้ในตัว๋ เงิน นายสองฟ้ องธนาคารดังกล่าวให้ใช้เงินตาม เช็คพิพาทไม่ได้ ข้อตกลงระหว่างธนาคารกับนายหนึ่งผูเ้ คยค้า เรื่ องการเบิกเงินจากบัญชีเงินฝากกระแส รายวันว่าต้องใช้เช็คในการสัง่ จ่ายเงินนั้นก็ไม่มีลกั ษณะเป็ นสัญญาเพื่อประโยชน์แก่ บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๓๗๔ และมาตรา ๓๗๕ การที่ ธนาคารสุโขทัย จํากัด ไม่ใช้เงินแก่นายสองผูท้ รงเช็คโดยไม่มีขอ้ แก้ตวั ตามประมวลกฎหมาย
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๙๑(๑) หรื อ (๒) หรื อ (๓) ธนาคารสุโขทัย จํากัด ต้องรับผิดต่อผูเ้ คย ค้าคือนายหนึ่งผูส้ งั่ จ่ายเช็คเท่านั้น เพราะเป็ นคู่สญ ั ญาของธนาคารตามสัญญาฝากเงินบัญชีกระแส รายวัน นายสองจึงฟ้ องในธนาคารรับผิดตามข้อตกลงดังกล่าวไม่ได้ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๖๗๕/ ๒๕๓๔)
สมัยที่ ๔๖ ปี การศึกษา ๒๕๓๖ (ข้ อ ๗) ถาม เมื่อวันที่ ๑๐ สิ งหาคม ๒๕๓๖ นางกุหลาบซื้อแหวนเพชร ๑ วง จากนางไข่มุกในราคา ๑๐๐,๐๐๐ บาท โดยสัง่ จ่ายเช็คธนาคารซึ่งตั้งอยูท่ ี่กรุ งเทพมหานคร ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๓๖ จํานวนเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ชําระหนี้ให้นางไข่มุกเก็บเช็คไว้ในกระเป๋ าใส่เงิน ต่อมา วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๓๖ นางไข่มุกไปทําธุรกิจที่จงั หวัดภูเก็ตโดยพักที่โรงแรมแห่งหนึ่ง คืนนั้น มีเพื่อนซึ่งนางไข่มุกรู้จกั แต่ชื่อมาร่ วมพักอยูใ่ นห้องเดียวกัน เช้าวันรุ่ งขึ้นนางไข่มุกตรวจพบว่า กระเป๋ าใส่เงินพร้อมกับเช็คดังกล่าวถูกเพื่อนคนนั้นลักไป นางไข่มุกจึงไปแจ้งความต่อพนักงาน สอบสวนวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๖ นางไข่มุกเดินทางกลับกรุ งเทพมหานคร และแจ้งให้นาง กุหลาบทราบว่าเช็คหาย นางกุหลาบได้แจ้งอายัดเช็คต่อธนาคารในวันเดียวกัน แต่ปรากฏว่ามี ผูน้ าํ เช็คไปขึ้นเงินตั้งแต่วนั ที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๓๖ แล้วนางไข่มุกจึงเรี ยกให้นางกุหลาบชําระเงิน ค่าแหวนเพชร ดังนั้น นางกุหลาบจะต้องรับผิดชําระค่าแหวนเพชรนั้นอีกหรื อไม่ แนวคาตอบ นางไข่มุกไปทําธุรกิจที่จงั หวัดภูเก็ตชัว่ คราวก่อนวันเช็คถึงกําหนด ไม่มีความ จําเป็ นที่จะต้องนําเช็คติดตัวไปด้วย และระหว่างพักอยูท่ ี่โรงแรมที่จงั หวัดภูเก็ตนางไข่มุกให้เพื่อน ที่รู้จกั แต่ชื่อพักในห้องเดียวกันจนเป็ นเหตุให้เช็คถูกลักไป ดังนี้ พฤติการณ์ของนางไข่มุกจึงเป็ นที่ เห็นได้วา่ มีส่วนทําให้เช็คถูกลักไป และโดยที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา๓๒๑ วรรคสาม บัญญัติวา่ ถ้าชําระหนี้ออกด้วยโอน หรื อด้วยสลักหลังตัว๋ เงินประประทวนสิ นค้าท่าน ว่าหนี้น้ นั ระงับสิ้นไปต่อเมื่อตัว๋ เงินหรื อปรวนสิ นค้านั้นได้ใช้เงินแล้ว เมื่อนางไข่มุกมีส่วนผิดเป็ น เหตุให้เช็คถูกลักไปและเช็คนั้นได้ใช้เงินแล้ว หนี้ที่นางกุหลาบต้องชําระราคาแหวนเพชรให้แก่ นางไข่มุกย่อมระงับไป ส่วนที่นางไข่มุกแจ้งแก่นางกุหลาบและนางกุหลาบแจ้งอายัดเช็คต่อ ธนาคารเพื่อไม่ให้ใช้เงินตามเช็คนั้น ก็ปรากฎว่านางไข่มุกบอกกล่าวแก่นางกุหลาบหลังจากที่มี
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
การใช้เงินตามเช็คแล้ว การบอกกล่าวไม่เป็ นประโยชน์ต่อนางไข่มุกจึงไม่ได้รับความคุม้ ครอง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๐๑๐ และมาตรา ๑๐๑๑ นางกุหลาบจึงไม่ตอ้ งรับ ผิดชําระหนี้ค่าแหวนเพชรให้นางไข่มุกอีก (ฎีกาที่ ๒๖๕๑/๒๕๒๙ ประชุมใหญ่)
สมัยที่ ๔๗ ปี การศึกษา ๒๕๓๗ (ข้ อ ๗) ถาม นางเอกออกเช็คสัง่ จ่ายเงิน ๑,๐๐๐ บาท ให้แก่นายโท หรื อผูถ้ ือ นายโทแก้จาํ นวนเงินใน เช็คจาก ๑,๐๐๐ บาท เป็ น ๑๑,๐๐๐ บาท ซึ่งหากไม่สงั เกตจุไม่เห็นรอยแก้จาํ นวนเงินในเช็คแล้ว นายโทเซ็นสลักหลังนั้นนําไปชําระหนี้ให้แก่นายตรี นายตรี เซ็นสลักหลังเช็คโอนชําระหนี้ให้แก่ นายจัตวาอีกทอดหนึ่ง นายจัตวานําเช็คไปขึ้นเงินต่อธนาคาร แต่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ดังนี้ นายจัตวามีสิทธิเรี ยกร้องให้นาย เอก นายโท และนายตรี ใช้เงินตามเช็คดังกล่าวได้ หรื อไม่ เพียงใด แนวคาตอบ การแก้ไขจํานวนเงินในเช็คจาก ๑,๐๐๐ บา เป็ น ๑๑,๐๐๐ บาท เป็ นการแก้ไข เปลี่ยนแปลงในข้อสําคัญตามประมาลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ มาตรา ๑๐๐๗ วรรคท้าย แต่ การแก้ไขดังกล่าวหากไม่สงั เกตจะไม่เห็นรอยแก้จาํ นวนเงินในเช็ค ถือได้วา่ ความเปลี่ยนแปลงนั้น ไม่ประจักษ์ นายจัตวาซึ่งเป็ นผูท้ รงจึงเอาประโยชน์จากเช็คนั้นได้เสมือนดังมิได้มีการแก้ไข เปลี่ยนแปลง และบังคับการใช้เงินจากนายเอกตามเนื้อความเดิมแห่งเช็คนั้นได้จาํ นวนเงิน ๑,๐๐๐ ตามมาตรา ๑๐๐๗ วรรคสอง นายจัตวามีสิทธิเรี ยกร้องให้นายโทใช้เงินตามเช็คได้ ๑๑,๐๐๐ บาท เนื่องจากนายโทเป็ น ผูท้ าํ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงจํานวนเงินในเช็คนั้น ตามมาตรา ๑๐๐๗ วรรคหนึ่ง นายจัตวามีสิทธิเรี ยกร้องให้นายตรี ใช้เงินตามเช็คได้ ๑๑,๐๐๐ บาท เนื่องจากนายตรี เป็ นผู้ สลักหลังนั้นในภายหลัง ตามมาตรา ๑๐๐๗ วรรคหนึ่ง สมัยที่ ๔๘ ปี การศึกษา ๒๕๓๘ (ข้ อ ๗) ถาม นายกุง้ ไปซื้อสิ นค้าในห้างสรรพสิ นค้าแห่งหนึ่งและเผอิญทําสมุดเช็คหล่นหายจึงไปแจ้ง ความต่อตํารวจและแจ้งธนาคารขอระงับการจ่ายเงินตามเช็คทุกฉบับ นายกั้งซึ่งกําลังเดือดร้อน เรื่ องเงินกับสมุดเช็คของนายกุง้ จึงปลอมลายมือชื่อนายกุง้ สัง่ จ่ายเงินในเช็คจํานวน ๑๐,๐๐๐ บาท
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ชําระหนี้ให้นายก้อง โดยระบุชื่อนายก้องเป็ นผูร้ ับเงิน นายก้องรับเช็คมาแล้วสลักหลังโอนให้นาย แก้ว นายแก้วนําเช็คไปเรี ยกเก็บเงินที่ธนาคาร แต่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน โดยแจ้งให้นายแก้ว ทราบว่า นายกุง้ ทําสมุดเช็คหายขอให้ธนาคารระงับการจ่ายเงินตามเช็ค ให้วินิจฉัยว่า นายกุง้ นายกั้ง และนายก้องจะต้องรับผิดตามเช็คต่อนายแก้วหรื อไม่อย่างไร แนวคาตอบ นายกุง้ ไม่ตอ้ งรับผิดต่อนายแก้ว เพราะลายมือชื่อของนายกุง้ ที่สงั่ จ่ายเงินในเช็ค เป็ นลายมือปลอม ถือว่านายกุง้ มิได้ลงลายมือชื่อในเช็คนั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๐๐ นายกั้งต้องรับผิดชอบต่อนายแก้ว เพราะนายกั้งเป็ นผูล้ งลายมือชื่อสัง่ จ่ายเช็ค แม้จะลงชื่อ นายกุง้ ซึ่งไม่ใช่ชื่อของตนก็ตาม แต่นายกั้งก็ยงั ต้องรับผิดต่อนายแก้ว ในฐานะที่นายกั้งเป็ นผูส้ งั่ จ่ายตามมาตรา ๙๐๐, ๙๑๔ และ ๙๘๙ นายก้องต้องรับผิดต่อนายแก้ว เพราะแม้เช็คฉบับนี้จะเกิดจากลายมือชื่อผูส้ งั่ จ่ายปลอม แต่การที่ลายมือชื่อของนายกุง้ ปลอมนั้น ย่อมให้กระทบกระทัง่ ถึงความสมบูรณ์แห่งลายมือชื่ออื่น ๆ ในตัว๋ เงินนั้น ตามมาตรา ๑๐๐๖ และการฟ้ องนายก้องก็ไม่จาํ ต้องแสวงสิ ทธิจากลายมือชื่อ ปลอมของนายกั้งตามมาตรา ๑๐๐๘
สมัยที่ ๔๙ ปี การศึกษา ๒๕๓๙ (ข้ อ ๖) ถาม นายสมรักษ์เป็ นหนี้นายวิชยั จํานวน ๒๕๐,๐๐๐ บาท จึงลงลายมือชื่อในเช็คของธนาคาร เหรี ยญทอง จํากัด เพื่อสัง่ จ่ายเงินจํานวนดังกล่าวชําระหนี้ แต่ดว้ ยความเร่ งรี บนายสมรักษ์ได้เขียน จํานวนเงินในรายการช่องตัวเลขผิดพลาดเป็ น “๒๗๐,๐๐๐ บาท ” ส่วนยอดจํานวนเงินที่เป็ น ตัวอักษรเขียนว่า “สองแสนห้าหมื่นบาทถ้วน ” มอบให้นายวิชยั รับไป นายวิชยั สลักหลังเช็ค ดังกล่าวมอบให้แก่นายพงษ์สิทธิ์ นายพงษ์สิทธิ์พบเห็นข้อผิดพลาดดังกล่าว จึงแก้ไขยอดจํานวน เงินตามตัวเลขเป็ น ๒๕๐,๐๐๐ บาท แล้วสลักหลังโอนต่อให้นายภาคภูมิ เมื่อเช็คถึงกําหนดนาย ภาคภูมินาํ เช็คไปเรี ยกเก็บธนาคาร ดังนี้ (ก) หากธนาคารเหรี ยญทอง จํากัด ปฏิเสธการจ่ายเงิน นายภาคภูมิจะฟ้ องให้ใคร รับผิดชอบตามเช็คได้บา้ งหรื อไม่ เพียงใด
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
(ข) หากธนาคารเหรี ยญทอง จํากัด จ่ายเงินจํานวน ๒๕๐,๐๐๐ บาท แก่นายภาคภูมิไป แล้วจะหักเงินจากบัญชีของนายสมรักษ์ได้หรื อไม่ แนวคาตอบ การที่นายพงษ์สิทธิ์แก้ไขรายการในเช็คช่องจํานวนเงินที่เป็ นตัวเลขเพื่อให้ ถูกต้องตรงกับยอดจํานวนเงินที่ระบุไว้เป็ นตัวอักษรนั้นไม่ใช่เป็ นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงในข้อ สําคัญอันจะมีผลทําให้เช็คดังกล่าวเสี ยไปตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๐๐๗ วรรคหนึ่ง เพราะแม้ไม่มีการแก้ไขก็ตอ้ งถือเอาจํานวนเงินที่ระบุไว้เป็ นตัวอักษร เป็ นยอดเงินตามเช็คอยูแ่ ล้ว ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๒ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๖/๒๕๓๙) ดังนั้น (ก) หากธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน นายภาคภูมิซ่ ึงเป็ นผูท้ รงย่อมมีสิทธิฟ้องในนายสม รักษ์ในฐานะผูส้ งั่ จ่าย นายวิชยั และนายพงษ์สิทธิ์ในฐานะผูส้ ลักหลังร่ วมกันรับผิดชดใช้เงิน จํานวน ๒๕๐,๐๐๐ บาท แก่ตนได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๐๐, ๙๑๔, ๙๖๗ ประกอบมาตรา ๙๘๙ แต่จะฟ้ องธนาคารไม่ได้เพราะธนาคารมิได้รับรองเช็ค ธนาคารจึง ไม่มีนิติสมั พันธ์กบั นายภาคภูมิ (ข) ในกรณี ที่ธนาคารจ่ายเงินตามเช็คจํานวน ๒๕๐,๐๐๐ บาท แก่นายภาคภูมิไปแล้วถือ ได้วา่ ธนาคารได้จ่ายเงินแก่ผทู้ รงโดยถูกต้อง ธนาคารจึงมีสิทธิหกั เงินจากบัญชีของนายสมรักษ์ผู้ สัง่ จ่ายได้เต็มจํานวน
สมัยที่ ๕๐ ปี การศึกษา ๒๕๔๐ (ข้ อ ๗) ถาม นายคมกริ ชนํานาฬิกายีห่ อ้ โรเล็กซ์มาขายให้นายภักดีในราคา ๓๐๐,๐๐๐ บาท นายภักดี ตกลงซื้อแล้วออกเช็คชําระราคานาฬิกาให้แก่นายคมกริ ช ระบุชื่อนายคมกริ ชเป็ นผูร้ ับเงินและขีด ฆ่าคําว่าผูถ้ ือออก วันรุ่ งขึ้นนายภักดีนาํ นาฬิกาไปให้คนขายนาฬิกาดู จึงทราบว่านาฬิกาโรเล็กซ์ ปลอม นายภักดีจึงบอกล้างการซื้อขายไปยังนายคมกริ ช และสัง่ ห้ามธนาคารจ่ายเงินตามเช็ค แต่ ปรากฏว่า นายคมกริ ชได้สลักหลังโอนเช็คให้นายพิทกั ษ์เพื่อชําระค่าซื้อยาบ้าไปก่อนแล้ว เมื่อ นายพิทกั ษ์นาํ เช็คไปเรี ยกเก็บเงินจากธนาคาร ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินนายพิทกั ษ์จึงเรี ยกให้ นายภักดีผสู้ งั่ จ่ายใช้เงินตามเช็ค
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ดังนี้ วินิจฉัยว่า นายภักดีจะยกข้อที่นายคมกริ ชหลอกขายนาฬิกาโรเล็กซ์ปลอมให้แก่ตน กรณี หนึ่ง และข้อที่นายพิทกั ษ์รับเช็คจากนายคมกริ ชซึ่งได้มาจากการชําระซื้อยาบ้า อีกกรณี หนึ่ง เป็ นข้อต่อสูเ้ พื่อไม่ใช้เงินตามเช็คได้หรื อไม่ แนวคาตอบ กรณี แรก แม้นาฬิกายีห่ อ้ โรเล็กซ์ที่นายคมกริ ชขายให้นายภักดี เป็ นนาฬิกาโร เล็กซ์ปลอม และนายภักดีได้บอกล้างแล้วก็ตาม แต่ขอ้ ต่อสูท้ ี่วา่ นายคมกริ ชหลอกขายนาฬิกา ปลอมให้นายภักดี เป็ นข้อต่อสูอ้ นั อาศัยความเกี่ยวพันกันเฉพาะบุคคลระหว่างนายภักดี กับนายค มกริ ชผูท้ รงคนก่อน เมื่อไม่ปรากฏว่าการโอนเช็คได้มีข้ ึนด้วยคบคิดกับฉ้อฉล นายภักดียอ่ มไม่ อาจยกเป็ นข้อต่อสูน้ ายพิทกั ษ์ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๑๖ ดังนั้นนาย ภักดีจะยกข้อต่อสูท้ ี่วา่ นายคมกริ ชหลอกขายนาฬิกาโรเล็กซ์ปลอมให้แก่ตนเป็ นข้อต่อสูเ้ พื่อไม่ใช้ เงินตามเช็คให้นายพิทกั ษ์ไม่ได้ ส่วนกรณี นายภักดีจะยกข้อต่อสูท้ ี่นายพิทกั ษ์รับเช็คจากนายคมกริ ชซึ่งได้มาจากการชําระ ค่าซื้อยาบ้าเป็ นข้อต่อสูน้ ายพิทกั ษ์น้ นั สัญญาซื้อขายยาบ้าระหว่างนายพิทกั ษ์กบั นายคมกริ ชเป็ น นิติกรรมที่มีวตั ถุประสงค์เป็ นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายตกเป็ นโมฆะตามมาตรา ๑๕๐ แม้ นายคมกริ ชสลักหลังโอนเช็คให้นายพิทกั ษ์ ก็ไม่ถือว่านายพิทกั ษ์เป็ นผูร้ ับสลักหลังอันจะเป็ นผู้ ทรงโดยชอบด้วยกฎหมาย ตามมาตรา ๙๐๔ ทั้งข้อต่อสูด้ งั กล่าวเป็ นข้อต่อสูท้ ี่มีต่อตัวนายพิทกั ษ์ผู้ ทรงคนปัจจุบนั ไม่ตอ้ งห้ามที่นายภักดีจะยกเป็ นข้อต่อสูเ้ พื่อไม่ใช้เงินตามเช็คนั้นแก่นายพิทกั ษ์ได้ ตามมาตรา ๙๑๖ นายภักดีจึงมีสิทธิยกข้อต่อสูใ้ นข้อที่วา่ นายพิทกั ษ์รับสลักหลังเช็คจากนายคมก ริ ช ซึ่งได้มาจากการชําระค่าซื้อยาบ้า เป็ นข้อต่อสูน้ ายพิทกั ษ์เพื่อไม่ใช้เงินตามเช็คนั้นได้ สมัยที่ ๕๑ ปี การศึกษา ๒๕๔๑ (ข้ อ ๖) ถาม นายฉลาดกับนายเฉลียวเป็ นเพื่อนกัน นายฉลาดชวนนายเฉลียวไปช่วยเลือกซื้อเครื่ อง เพชรให้ภริ ยา นายฉลาดตกลงซื้อเครื่ องเพชรในราคา ๓๐๐,๐๐๐ บาท จากนายชมเจ้าของเครื่ อง เพชรแต่มีเงินไม่พอ จึงขอยืมเงินจากนายเฉลียว นายเฉลียวมีเงินไม่พอเช่นกัน นายเฉลียวบอกว่า มีแต่เช็ค นายฉลาดจึงขอยืมเช็คของนายเฉลียวมากรอกข้อความและลงลายมือชื่อเป็ นผูส้ งั่ จ่ายให้ ชําระเงิน แก่ผถู้ ือเพื่อชําระค่าเครื่ องเพชรให้แก่นายชม นายชมไม่เชื่อใจนายฉลาดจึงขอให้นาย เฉลียวลงลายมือในเช็คด้วย ต่อมานายชมสลักหลังเช็ดดังกล่าวชําระหนี้กยู้ มื ให้แก่นายชัย เมื่อเช็ค ถึงกําหนดนายชัยนําไปเรี ยกเก็บเงิน แต่ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ดังนี้ให้วินิจฉัยว่า นายฉลาด นายเฉลียว และนายชม จะต้องรับผิดใช้เงินตามเช็คต่อนาย ชัดหรื อไม่ แนวคาตอบ ผูล้ งลายมือชื่อเป็ นผูส้ งั่ จ่ายในเช็ค แม้ตนเองจะไม่ใช่เจ้าของบัญชีตามเช็คนั้นก็ ตาม ก็ตอ้ งรับผิดใช้เงินตามเช็คแก่ผทู้ รงซึ่งนําเช็คนั้นไปขึ้นเงินไม่ได้ เพราะกฎหมายมิได้บญั ญัติ ว่าผูส้ งั่ จ่ายเช็คจะต้องเป็ นข้าวของบัญชีตามเช็คนั้น (คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๓๔/๒๕๑๕) นาย ฉลาดซึ่งเป็ นผูล้ งลายมือชื่อสัง่ จ่ายในเช็ค จึงต้องรับผิดตามเนื้อความในเช็คนั้น ตามประมวล กฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ มาตรา ๙๐๐, ๙๑๔ ประกอบด้วยมาตรา ๙๘๙ นายเฉลียวลงลายมือชื่อไว้ดา้ นหน้าของเช็ค ถือว่าเป็ นผูร้ ับอาวัลนายฉลาดผูส้ งั่ จ่ายตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๓๙ วรรคสามและวรรคสี่ และมีความรับผิดอย่าง เดียวกับนายฉลาดผูส้ งั่ จ่ายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๔๐ วรรคหนึ่ง ประกอบด้วยมาตรา ๙๘๙ นายชมลงลายมือชื่อสลักหลังเช็คสัง่ ให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือ ย่อมเป็ นอาวัลสําหรับนายฉลาดผู้ สัง่ จ่ายและมีความรับผิดอย่างเดียวกับนายฉลาด ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๒๑, ๙๔๐ ประกอบด้วยมาตรา ๙๘๙ นายฉลาด นายเฉลียว และนายชม ต้องร่ วมกันรับผิดใช้เงินตามเช็คต่อนายชัย
สมัยที่ ๕๒ ปี การศึกษา ๒๕๔๒ (ข้ อ ๖) ถาม นายจันทร์ตกลงซื้อแหวนเพชรจากนายอังคารในราคา ๒๐๐,๐๐๐ บาทในการชําระหนี้ ดังกล่าว นายจันทร์ได้ออกเช็คให้นางสาวพุธบุตรสาวของนายจันทร์เป็ นผูเ้ ขียนรายการในเช็ค ระบุชื่อนายอังคารเป็ นผูร้ ับเงิน โดยขีดฆ่าคําว่า “หรื อผูถ้ ือ ” ออก และขีดคร่ อมระบุขอ้ ความไว้ กลางเส้นขนานที่ขีดคร่ อมว่า “เฉพาะ” แล้วให้นายจันทร์ลงลายมือชื่อเป็ นผูส้ งั่ จ่ายมอบให้แก่นาย อังคารไป นายอังคารได้สลักหลังและส่งมอบเช็คดังกล่าวชําระหนี้เงินยืมให้แก่นายพฤหัส นาย พฤหัสนําเช็คไปเข้าบัญชีเพื่อเรี ยกเก็บเงิน แต่ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน ให้วินิจฉัยว่า นายจันทร์ นายอังคาร และนายสาวพุธ จะต้องรับผิดต่อนายพฤหัสตาม เช็คหรื อไม่
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
แนวคาตอบ การที่นายจันทร์ออกเช็คชําระหนี้ให้แก่นายอังคารโดยให้นางสาวพุธเป็ นผูเ้ ขียน รายการในเช็คระบุชื่อนายอังคารเป็ นผูร้ ับเงินโดยขีดฆ่าคําว่า “หรื อผูถ้ ือ ” ออก แล้วนายจันทร์ลง ลายมือชื่อเป็ นผูส้ งั่ จ่าย ถือว่าเป็ นการออกเช็คโดยชอบและเป็ นเช็คชนิดระบุชื่อ หากนายจันทร์จะ ห้ามนายอังคารโอนเช็คต่อไปด้วยสลักหลังและส่งมอบตามวิธีการอย่างตัว๋ เงิน นายจันทร์จะต้อง เขียนลงในด้านหน้าของเช็คว่า “เปลี่ยนมือไม่ได้” หรื อเขียนคําอื่นอันได้ความทํานองเดียวกันนั้น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๑๗ วรรคสองประกอบด้วย มาตรา ๙๘๙ การที่ เช็คมีขอ้ ความระบุกลางเส้นขนานที่ขีดคร่ อมว่า “เฉพาะ” นั้น คําว่า “เฉพาะ” ยังถือไม่ได้วา่ เป็ น คําอื่นอันได้ความทํานองเดียวกับคําว่า “เปลี่ยนมือไม่ได้ ” ตามความในมาตรา ๙๑๗ วรรคสอง และถือว่าข้อความนั้นมิได้บญั ญัติไว้ในกฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ข้อความนั้นจึงหาเป็ นผลแก่เช็ค ไม่ตามมาตรา ๙๘๙ เช็คดังกล่าวจึงเป็ นเช็คที่โอนเปลี่ยนมือกันได้ตามมาตรา ๙๑๗ วรรคหนึ่ง เมื่อนายอังคารสลักหลังและส่งมอบเช็คชําระหนี้เงินยืมให้แก่นายพฤหัส นายพฤหัสจึงเป็ นผู้ ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายมีสิทธิฟ้องเรี ยกเงินตามเช็คได้ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๔๙๗๕/๒๕๓๓) ดังนั้น นายจันทร์ผลู้ งลายมือชื่อสัง่ จ่ายเช็ค และนายอังคารผูส้ ลักหลังเช็คต้องรับผิดตาม เนื้อความในเช็คนั้นตามมาตรา ๙๐๐, ๙๑๔, ๙๘๙ นางสาวพุธ เป็ นแต่เพียงผูเ้ ขียนรายการต่าง ๆ ในเช็คแต่ไม่ได้ลงลายมือชื่อในเช็ค จึงไม่ ต้องรับผิดตามเช็ค
สมัย ๕๓ ปี การศึกษา ๒๕๔๓ (ข้ อ ๖) ถาม นายพานไปรับประทานอาหารที่ภตั ตาคารแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ได้พบกับนาย ทองลูกหนี้ จึงทวงถามหนี้เงินยืม นายทองได้ออกเช็คธนาคารกรุ งธน จํากัด สาขาเชียงใหม่ลง วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓ ระบุชื่อนายพานเป็ นผูร้ ับเงิน และขีดฆ่าคําว่าผูถ้ ือ มอบเช็คให้แก่ นายพานที่ภตั ตาคารแหงนั้นเองเพื่อนชําระหนี้ดงั กล่าว ต่อมานายพานลงลายมือชื่อที่ดา้ นหลังเช็ค โดยไม่เขียนข้อความใด ๆ ส่งมอบเช็คชําระหนี้ค่าแหวนเพชรให้แก่นายแท้ นายแท้ได้รับเช็คไว้ แล้วหลงลืม จนกระทัง่ วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๓ จึงนําเช็คไปเรี ยกเก็บเงิน ธนาคารกรุ งธน จํากัด สาขาเชียงใหม่ ปฏิเสธการขายเงินโดยให้เหตุผลว่า เงินในบัญชีไม่พอจ่าย นายแท้ทวงถาม นายทองกับนายพานให้ใช้เงินตามเช็ค นายทองต่อสูว้ า่ เช็คไม่ระบุชื่อนายแท้เป็ นผูร้ ับโอน การ
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
โอนไม่สมบูรณ์ นายแท้ไม่ใช้ผทู้ รง ส่วนนายพานต่อสูว้ า่ นายแท้นาํ เช็คไปเรี ยกเก็บเงินล่าช้า จึง สิ้นสิ ทธิไล่เบี้ยเอาแก่ตน ให้วินิจฉัยว่า ข้อต่อสูข้ องนายทองกับนายพานฟังขึ้นหรื อไม่ แนวคาตอบ เช็คระบุชื่อผูร้ ับเงินย่อมโอนให้แก่กนั ได้ดว้ ยการสลักหลัง และส่งมอบตาม ประมวลกฎแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๑๗ วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา ๙๘๙ และการสลักหลัง ย่อมสมบูรณ์แม้ท้ งั มิไดระบุชื่อผูร้ ับประโยชน์ไว้ดว้ ยตามมาตรา ๙๑๙ ประกอบมาตรา ๙๘๙ กรที่ นายพานลงลายมือชื่อไว้ที่ดา้ นหลังเช็คโดยไม่เขียนข้อความใด ๆ และส่งมอบเช็คให้แก่นายแท้ การสลักหลังก็ยอ่ มสมบูรณ์ซ่ ึงเรี ยกว่าสลักหลังลอย (คําพิพากษาฎีกาที่ ๖๒๑๘-๖๒๒๐/๒๕๓๔) เมื่อนายแท้มีเช็คไว้ในครอบครอง แม้ถึงว่าการสลักหลังรายที่สุดจะเป็ นสลักหลังลอยก็ตาม นาย แท้ยอ่ มเป็ นผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา ๙๐๕ วรรคหนึ่ง ข้อต่อสูข้ องนายท้องฟังไม่ ขึ้น เช็คให้ใช้เงินในเมืองเดียวกันกับที่ออกเช็คระบุวนั ออกเช็คลงวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓ แต่นายแท้ซ่ ึงเป็ นผูท้ รงยืน่ เช็คต่อธนาคารเพื่อให้ใช้เงินวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๓ เกิน กําหนดหนึ่งเดือนนับแต่วนั ออกเช็คนั้นตามที่มาตรา ๙๙๐ บังคับไว้ นายแท้จึงสิ้นสิ ทธิไล่เบี้ยเอา แก่นายพานผูส้ ลักหลังเช็คนั้น (คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๕๙๗/๒๕๓๔) ข้อต่อสูข้ องนายพานฟังขึ้น
สมัยที่ ๕๔ ปี การศึกษา ๒๕๔๔ (ข้ อ ๖) ถาม นายจันทร์อกเช็คผูถ้ ือลงวันที่ล่วงหน้าชําระหนี้เงินยืมให้แก่นายอังคาร ต่อมานายอังคาร ลงลายมือชื่อสลักหลังเช็คดังกล่าวชําระหนี้ค่าสิ นค้าให้แก่นายพุธ ก่อนเช็คถึงกําหนดนายพุธมี ภารกิจสําคัญต้องเดินทางไปต่างประเทศเป็ นเวลาหลายเดือนเกรงว่าเดินทางกลับมาจะล่วงเลยวัน ถึงกําหนดใช้เงินตามเช็ค ทําให้เรี ยกเก็บเงินไม่ได้ จึงขอให้นายอังคารออกเช็คฉบับใหม่ให้แทน แต่นายอังคารไม่ยนิ ยอม นายพุธได้ไปขอร้องนายจันทร์ให้แก่ไขวันที่ลงในเช็ค นายจันทร์ตกลง ยินยอมโดยขีดฆ่าวันเดือนปี ในเช็คที่ลงไว้เดิม และเขียนวันเดือนปี ในเช็คใหม่แล้วลงมือชื่อกํากับ ไว้ โดยนายอังคารไม่ทราบเรื่ องด้วย เมื่อเช็คถึงกําหนดตามวันที่ที่แก้ไข นายพุธนเช็คไปเรี ยกเก็บ เงิน ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน ในวินิจฉัยว่า นายพุธ จะเรี ยกให้นายจันทร์และนายอังคารรับผิดใช้เงินตามเช็คได้หรื อไม่
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
แนวคาตอบ นายอังคารลงลายมือชื่อสลักหลังเช็คผูถ้ ือย่อมเป็ นประกัน (อาวัล) สําหรับนาย จันทร์ผสู้ งั่ จ่าย และมีความผูกพันเป็ นอย่างเดียวกับนายจันทร์ บุคคลซึ่งตนประกัน ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๘๙ ประกอบมาตรา ๙๒๑ และ ๙๔๐ วรรคหนึ่ง การที่นายจันทร์ผสู้ งั่ จ่ายแก้ไขวันเดือนปี ในเช็คเป็ นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงในข้อสําคัญ และเป็ นที่ประจักษ์มีผลทําให้เช็คนั้นเป็ นอันเสี ยไป แต่ยงั คงใช้ได้ต่อนายจันทร์ซ่ ึงเป็ นผูท้ าํ การ แก้ไขเปลี่ยนแปลงนั้นตามมาตรา ๑๐๐๗ วรรคหนึ่ง เมื่อธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงินนาย พุธ จึงเรี ยกให้นายจันทร์รับผิดใช้เงินตามเช็คที่แก้ไขแล้วได้ แม้นายอังคารจะเป็ นผูอ้ าวัลผูส้ งั่ จ่าย และมีความผูกพันเป็ นอย่างเดียวกับนายจันทร์กต็ าม แต่เมื่อนายอังคารมิได้ยนิ ยอมด้วยกับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ย่อมมีผลทําให้เช็คนั้นเป็ น อันเสี ยไป นายพุธจะอ้างเอาผลของการที่เช็คถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงวันที่ลงในเช็คโดยนายอังคาร มิได้ยนิ ยอมด้วยกับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงนั้นมาเรี ยกให้นายอังคารรับผิดใช้เงินตามเช็คไม่ได้ เพราะมีผลเท่ากับให้นายพุธยังคงใช้เช็คอ้างสิ ทธิต่อนายอังคารซึ่งมิได้ยนิ ยอมด้วยกับการแก้ไข เปลี่ยนแปลงนั้นได้ต่อไปอีก เป็ นการไม่ชอบด้วยมาตรา ๑๐๐๗ วรรคหนึ่ง นายพุธจึงเรี ยกให้นาย อังคารรับผิดใช้เงินตามเช็คไม่ได้ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๔๓/๒๕๓๔ และ ๓๓๙๗/๒๕๓๖)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ข้อสอบเก่า
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
แบบทดสอบการเตรียมตัวก่อนเข้ าเรียน วิชากฎหมายตั๋วเงิน และการใช้ ตั๋วเงิน Section II วันจันทร์ ที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๐ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คาชี้แจง : ๑) เนื่องจากนักศึกษาได้อ่านหนังสื อมาด้วยตนเองแล้ว ผูบ้ รรยายจึงได้ทาํ แบบทดสอบขึ้นเพื่อทดสอบ ความเข้าใจ ๒) ให้นกั ศึกษาทําแบบทดสอบภายในกําหนดเวลา ๒๐ นาที จากนั้นผูบ้ รรยายจะทดสอบด้วยการ ถามปากเปล่า (Oral test)
๑) A กับ B เป็ นสามีภรรยากัน มีเงินเก็บเป็ นทรัพย์สินระหว่างสามี ภรรยา จํานวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท โดยได้นาํ ไปฝากไว้กบั ธนาคารกรุ งเทพ จํากัด ประเภทบัญชีกระแสรายวัน ต่อมา A ได้สั่งจ่ายเช็คฉบับหนึ่งแก่ C จากนั้น C ได้ สลักหลังโอนไปให้ D เมื่อ D ไปเรี ยกเก็บเงินธนาคารไม่ยอมจ่าย ให้ท่านวินิจฉัยว่า D จะฟ้ อง A B และ C ให้รับผิดได้หรื อไม่ ๒) ไก่ ได้สงั่ จ่ายเช็คฉบับหนึ่งให้แก่ รัตน์ จากนั้นรัตน์ สลักหลังโอนเช็ค ต่อไปให้กบั เบิม้ แต่เนื่องจากรัตน์ เป็ นคนเขียนหนังสื อไม่เป็ น จึงได้ ทําเครื่ องหมาย แกงได โดยมี ศอ และ ก้อง ลงลายมือชื่อในฐานะพยาน เมื่อ เบิม้ ได้เช็คมาแล้วได้ สลักหลังโอนต่อไปให้กบั อัน๋ ถ้าเช็คฉบับนี้ไปเรี ยกเก็บเงินแล้วธนาคารไม่ยอม จ่ายเงิน ให้ท่านวินิจฉัยว่า อัน๋ จะฟ้ องร้องให้ใครรับผิดได้บา้ ง ๓) ให้อธิบายการโอนหนี้ในกรณี ทวั่ ไป ว่ามีความแตกต่างกับการโอน หนี้ตราสารเปลี่ยนมือ(Negotiable Instrument) อย่างไรบ้าง
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
๔) หลักสัญญาแบบ Privity of Contract ในนิติกรรมทัว่ ไป แตกต่างกับ สัญญาแบบ Secondarily of Contract ในเรื่ องตราสารเปลี่ยนมืออย่างไรบ้าง พร้อม ทั้งอธิบายหลักการสะสมตัวลูกหนี้(The Accumulation) ประกอบด้วย ๕) เพราะเหตุใดในเรื่ องตราสารเปลี่ยนมือจึงต้องนําหลัก “ผูร้ ับโอนโดย สุ จริ ต มีสิทธิดีกว่าผูโ้ อน” มาใช้ ๖)หลัก “ความรับผิดของบุคคลที่ลงลายมือชื่อจะต้องรับผิดตาม เนื้อความ” (Prima facie liable) ซึ่งจะต้องเรี ยกให้ลูกหนี้รับผิด ซึ่งก็คือ คนที่ลง ลายมือชื่อมาก่อน ตามหลัก “คนข้างหน้ารับผิดต่อคนข้างหลัง” นั้นได้ก่อให้เกิด ลูกหนี้-เจ้าหนี้ตามตัว๋ เงินขึ้น หากข้อเท็จจริ งได้ความว่า A ออกตัว๋ แลกเงินสั่ง B ให้จ่ายเงินแก่ C จากนั้นได้สลักหลังโอนให้ D E F G ตามลําดับ จนถึง H .ให้นกั ศึกษาวินิจฉัยว่า D เป็ นเจ้าหนี้ และขณะเดียวกัน D เป็ นลูกหนี้ใครบ้าง
ขอให้นกั ศึกษาโชคดี และอนุญาตให้นกั ศึกษานําแบบทดสอบนี้ออกนอกห้องเรี ยนได้ อ.ตรี เนตร สาระพงษ์
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
แบบทดสอบการเตรียมตัวก่อนเข้ าเรียน วิชากฎหมายตั๋วเงิน และการใช้ ตั๋วเงิน Section II วันจันทร์ ที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๐ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คาชี้แจง : ๑) เนื่องจากนักศึกษาได้อ่านหนังสื อมาด้วยตนเองแล้ว ผูบ้ รรยายจึงได้ทาํ แบบทดสอบ ขึ้นเพื่อทดสอบความเข้าใจ ๒) ให้นกั ศึกษาทําแบบทดสอบภายในกําหนดเวลา ๒๐ นาที จากนั้นผูบ้ รรยายจะ ทดสอบด้วยการถามปากเปล่า (Oral test) ๗) ผูท้ รง ที่ท่านเข้าใจคืออะไร และมีหลักการเป็ นผูท้ รงอย่างไรบ้าง ๘) เช่น A ออกตัว๋ แลกเงินสั่ง B ให้จ่ายเงินแก่ C จากนั้น C โอนตัว๋ ต่อให้ D และ D โอนตัว๋ ต่อให้ E ใครเป็ นเจ้าหนี้ลูกหนี้ของใครบ้าง ๙) จ. เป็ นเจ้าของร้าน มี ส. ซึ่ งเป็ นบุตรช่วยค้าขายอยูใ่ นร้าน แดง ออกเช็คเงิน สดชําระหนี้ค่าสิ นค้าให้แก่ร้าน ปรากฏว่า แดง ออกเช็คส่ งมอบเช็คให้ ส. และ ส. เป็ นผูเ้ ก็บ รักษาเช็คนั้นไว้ ให้วนิ ิจฉัยว่ากรณี น้ ีใครเป็ นผูท้ รง ๑๐) ภาพที่ ๑
นายดา
ภาพที่ ๒
จากภาพ
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
๑๑)
ให้ นศ. สั่งจ่ายเป็ นตัว๋ ระบุชื่อในภาพที่ ๑ และสั่งจ่ายตัว๋ ผูถ้ ือในภาพที่ ๒ จากภาพด้านหลังตัว๋ เงิน
ก) ให้นกั ศึกษาโอนตัว๋ ระบุชื่อในข้อ ๔ โดยผูร้ ับเงิน ได้สลักหลังเฉพาะให้แก่ C จากนั้น C ได้สลักหลังลอยให้แก่ D ต่อมา D ได้ส่งมองต่อให้กบั E จากนั้น E สลักหลังเฉพาะต่อ ให้กบั F F ได้สลักหลังลอยให้แก่ G จากนั้น G เขียนชื่อ H ลงบนที่วา่ งเหนือลายมือชื่อของ F และ ส่ งมอบตัว๋ เงินให้แก่ H จากนั้น H ได้สลักหลังลอยต่อให้กบั I จากนั้น I ได้สลักหลังเฉพาะให้แก่ J จากนั้น J ได้ส่งมอบให้แก่ K และ K ส่ งมอบให้แก่ L และ L ได้สลักหลังเฉพาะให้แก่ M M สลักหลังเฉพาะให้แก่ N จากนั้น N ได้สลักหลังลอยแก่ O ข) เมื่อนักศึกษาได้สลักหลังโอนตามข้อ ก) เสร็ จแล้ว ให้ท่านวินิจฉัยว่า O เป็ นผูท้ รง โดยชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่ ขอให้ นักศึกษาโชคดีในการทดสอบ และอนุญาตให้ นักศึกษานาแบบทดสอบนีอ้ อกนอกห้ องเรียนได้ อ.ตรี เนตร สาระพงษ์
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
คาถามพร้ อมธงคาตอบวิชากฎหมายตัว๋ เงินและการใช้ ตวั๋ เงิน
คาถาม ข้อ ๑ ผูท้ รง ซึ่ งได้รับตัว๋ เงินมาด้วยการสลักหลังลอย หากต้องการโอนตัว๋ ต่อไปสามารถทาได้ โดยวิธิใดบ้าง(๑๐ คะแนน) ธงคาตอบ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๒๐ วรรค ๒ บัญญัติวา่ “ถ้าสลักหลังลอย ผูท้ รง จะปฏิบตั ิดงั กล่าวต่อไปนี้ประการหนึ่งประการใดก็ได้ คือ (๑) กรอกความลงในที่วา่ ด้วยเขียนชื่อของตนเอง หรื อชื่อบุคคลอื่นผูใ้ ดผูห้ นึ่ง (๒) สลักหลังตัว๋ เงินต่อไปอีกเป็ นสลักหลักหลังลอย หรื อสลักหลังให้แก่บุคคลอื่นผูใ้ ดผู ้ หนึ่ง (๓) โอนตัว๋ เงินนั้นให้ไปแก่บุคคลภายนอกโดยไม่กรอกความลงในที่วา่ และไม่สลักหลัง อย่างหนึ่งอย่างใด” ( ๒ คะแนน) จากมาตรา ๙๒๐ วรรค ๒ จะเห็นได้วา่ ผูท้ ี่ได้รับตัว๋ มาด้วยการสลักหลังลอยสามารถโอนตัว๋ เงิน ต่อไปได้ ๓ วิธี ดังนี้
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
1) กรอกข้ อความลงในทีว่ ่ างด้ วยเขียนชื่ อของตนเองหรือชื่ อบุคคลผู้ใดผู้หนึ่ง คาว่า “ที่วา่ ง” ในที่น้ ีหมายความว่า ทีว่ ่ างเหนือลายมือชื่ อของผู้ทสี่ ลักหลังลอยมา ถ้าหากมีการ เติมชื่อเหนือชื่อที่สลักหลังลอยมาก็เท่ากับเป็ นการ “สลักหลังเฉพาะ ” ซึ่ งการเขียนชื่อลงในที่วา่ งนี้อาจ ชื่อตนเองหรื อชื่อบุคคลหนึ่งบุคคลใดลงไปแต่ผลจะแตกต่างกัน ดังนี้ (๑) ถ้ าเขียนชื่อตนเอง (ชื่อผูร้ ับการสลักหลังลอย) ลงไป ก็ ต้องถือว่าเป็ นการสลักหลังให้แก่ตนเอง เท่ากับว่าผูร้ ับการสลักหลังลอยนั้นได้รับการสลักหลังเฉพาะมา จากผูส้ ลักหลังเดิม (การสลักหลังเฉพาะแม้เพียงระบุชื่อผูร้ ับโอนและลงลายมือชื่อผูโ้ อนก็ถือว่าเป็ นการ สลกัหลังเฉพาะแล้ว (๒) ถ้ าเขียนชื่อคนอืน่ ก็ตอ้ งถือว่าบุคคลนั้นเป็ นผูไ้ ด้รับการสลักหลังเฉพาะมาจากผูส้ ลักหลัง เดิมโดยตรงแล้วผูท้ รงก็จะต้องส่ งมอบตัว๋ เงินนั้นให้บุคคลที่เขาระบุชื่อนั้นไป บุคคลนั้นก็จะเป็ นผูท้ รง ด้วยการสลักหลังเฉพาะ ส่ วนตัวผูท้ รงที่เติมชื่อคนอื่นลงไปนั้นไม่ตอ้ งรับผิดตามตัว๋ เงินเพราะเขาไม่ได้ ลงชื่อในตัว๋ เงินนั้นตามมาตรา 900 ตัวอย่าง A ออกตัว๋ แลกเงินส่ ง B ให้จ่ายเงินแก่ C จากนั้น C โอนตัว๋ เงินให้ D ด้วยการสลักหลังลอยโอย มีชื่อ C ด้านหลังตัว๋ เงิน เช่นนี้ D ก็อาจเขียนชื่อ D เหนือลายมือชื่อของ C ผลักเท่ากับว่า C สลักหลัง เฉพาะให้ D D จึงเป็ นผูร้ ับสลักหลังเฉพาะแต่ถา้ D ต้องการโอนตัว๋ เงินต่อไปให้แก่ E และ E ต้องการให้ มีชื่อตนเป็ นผูร้ ับโอนตัว๋ นั้น D ก็จะเขียนชื่อ E เหนือลายมือชื่อของ C เป็ นผลให้ E เป็ นผูร้ ับการสลัก หลังเฉพาะได้รับโอนบรรดาสิ ทธิ อนั เกิดแต่ตวั๋ เงินนั้น โดย D ไม่มีลายมือชื่อในตัว๋ เงินนั้นเลยจึงไม่ตอ้ ง รับผิดตามมาตรา 900 2) สลักหลังตั๋วเงินต่ อไปอีกด้ วยการสลักหลังลอย กล่าวคือผูท้ รงอาจลงลายมือชื่อของ ตนเอง แล้วส่ งมอบตัว๋ เงินให้แก่ผหู ้ นึ่งผูใ้ ดต่อไป จากตัวอย่างเดิมหาก D ต้องการโอนตัว๋ เงินต่อไปก็อาจ ลงลายมือชื่อของ D ต่อจากลายมือชื่อของ C ก็เป็ นการสลักหลังลอยแล้ว แต่เมื่อง D ลงลายมือชื่อ D ก็ อาจต้องรับผิดตามมาตรา 900,914,967 ได้ หรือสลักหลังให้ แก่ บุคคลอืน่ ผู้ใดผู้หนึ่งจากตัวอย่ างเดิม แทนที่ D จะสลักหลังลอย D ก็ อาจจะลงลายมือชื่อของตนแล้วระบุชื่อ E เป็ นผูร้ ับประโยชน์ก็จะทาให้ E เป็ นผูร้ ับสลักหลังเฉพาะและ D ก็อาจต้องรับผิดในฐานะผูส้ ลักหลังตามมาตรา 900,914,967 ได้ 3) โอนตั๋วเงินนั้นให้ แก่ บุคคลภายนอกโดยไม่ กรอกข้ อความในทีว่ ่ างและไม่ สลักหลังอย่ าง หนึ่งอย่างใด ในเบื้องต้นต้องเข้าใจเสี ยก่อนว่า “ผลของการสลักหลังลอยเท่ากับผูส้ ลักหลังต้องการโอน ตัว๋ เงินให้แก่ผถู ้ ือ “นัน่ เอง กล่าวคือการสลักหลังลอยนั้นผูโ้ อนเพียงแต่ลงลายมือชื่อเท่านั้นไม่ได้เจาะจง
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ว่าจะโอนให้แก่ใคร ผูท้ รงตัว๋ เงินที่ได้รับตัว๋ เงินมาจากการสลักหลังลอยจึงอาจโอนตัว๋ เงินนั้นต่อไปได้ ด้วยการ “ส่ งมอบ” เช่นเดียวกับการโอนตัว๋ ผูถ้ ือตามมาตรา 918 และผูท้ รงที่โอนตัว๋ ด้วยวิธีการส่ งมอบ ตามมาตรา 920 (3) นี้ก็ไม่ตอ้ งรับผิดตามตัว๋ เงินเพราะไม่ได้ลงลายมือชื่อในตัว๋ เงินนั้นเลย จากตัวอย่างเดิม D อาจโอนตัว๋ เงินให้แก่ E ด้วยวิธีการส่ งมอบเท่านั้นและถือว่า E ได้รับตัว๋ เงิน จากการสลักหลังของ C โดยตรงแต่ในตัว๋ เงินไม่มีลายมือชื่อของ D เลย D จึงไม่ตอ้ งรับผิดตามตัว๋ เงิน นั้นเพราะไม่มีลายมือชื่อของตนตามมาตรา 900 ข้ อสั งเกต แม้การโอนตัว๋ ระบุชื่อตามมาตรา 920(3) ด้วยการ “ส่ งมอบ” เช่นเดียวการการโอนตัว๋ ผูถ้ ือ แต่ ตั๋วนั้นก็ยงั คงเป็ นตั๋วระบุชื่อตลอดไป จากตัวอย่างเดิม ถ้า E ซึ่ งเป็ นผูร้ ับโอนตัว๋ มาจากการที่ D ส่ งมอบตัว๋ ให้ E ก็อาจโอนตัว๋ เงินต่อไปให้กบั F ด้วยการสลักหลังเฉพาะด้วยการที่ E ระบุชื่อของ F ตาม มาตรา 920 (2) ตอนท้าย และหาก F ต้องการโอนตัว๋ เงินให้กบั G ต่อไปอีก F ก็ตอ้ งโอนด้วยการสลัก และส่ งมอบตามมาตรา 917 วรรคแรกและมาตรา 919 คาถาม ข้อ ๒ A ซึ่ งเป็ นคนไทย ได้ออกตัว๋ สัญญาใช้เงินให้แก่ B ณ ประเทศอังกฤษ ในวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๔๘ โดย A ให้คามัน่ สัญญากับ B ว่าจะใช้เงินให้ภายใน ๓ เดือนนับแต่ได้เห็นตัว๋ จากนั้น B ได้สลักหลังและส่ งมอบตัว๋ ให้แก่ C จนกระทัง่ วันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ C ก็ยงั มิได้นาตัว๋ ไปยืน่ ให้ A จดรับรู ้ ให้ท่านวินิจฉัยว่า C จะเรี ยกให้ A และ B ใช้เงินให้แก่ตนได้หรื อไม่ เพราะ เหตุใด (๘ คะแนน) ธงคาตอบ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๙๓๗, ๙๗๓ วรรคแรกและ วรรค ๒, ๙๘๕ วรรค ๒ และมาตรา ๙๘๖ กรณี ตามปั ญหาวินิจฉัยประกอบหลักกฎหมายได้วา่ คาถาม ข้อ ๓ A ออกเช็คสั่งให้ธนาคารทหารไทย จากัด จ่ายเงินให้แก่ B โดยขีดคาว่า “หรื อผูถ้ ือ” ออก จากนั้น B ได้ทาเช็คหาย มีผเู ้ ก็บได้ และได้ปลอมลายมือชื่อ B เพื่อโอนเช็คต่อให้กบั D จากนั้น D สลักหลังและส่ งมอบเช็คต่อไปให้แก่ E ให้ท่านวินิจฉัยว่า ๑) E จะเรี ยกให้ A B และ D รับผิดได้หรื อไม่
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
๒) B ซึ่งเป็ นเจ้าของที่แท้จริ งจะเรี ยกให้ E คืนเช็คแก่ตนได้หรื อไม่ ธงคาตอบ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ข้อ ๔ A ออกเช็คสั่งธนาคารกสิ กรไทย จากัด ให้จ่ายเงินแก่ C หรื อผูถ้ ือ จากนั้น C ได้ขีด คร่ อมเช็ค โดยขีด คร่ อมทัว่ ไป เช็คฉบับดังกล่าว และในระหว่างเส้นคู่ขนานของการขีดคร่ อมยังมีคาว่า “A/C Payee only” จากนั้น C ทาเช็คหาย D เก็บเช็คได้จึงโอนโดยการส่ งมอบให้ E E รับเช็คไว้โดยสุ จริ ต จากนั้น E ได้โอนโดยการส่ งมอบให้กบั F ต่อมาเช็คฉบับดังกล่าวขาดความเชื่อถือเพราะธนาคาร ปฏิเสธการจ่ายเงิน ให้ท่านวินิจฉัยว่า ๑) ใครต้องรับผิดต่อ F บ้าง ๒) หาก F ฟ้ องร้องให้ A รับผิด A จะยกข้อต่อสู ้วา่ C ทาเช็คหาย เมื่อ D เก็บเช็คได้จ่ ึงไม่ อาจโอนให้แก่ E ได้ ดังนั้น F จึงไม่มีสิทธิ ในเช็คดังกล่าว ขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้ F ได้หรื อไม่ ๓) ขณะเดียวกัน F ก็ต่อสู ้วา่ การขีดคร่ อม และมีคาว่า “A/C Payee only” นั้นใช้ ไม่ได้เพราะมาตรา ๙๙๕ (๓) มิได้บญั ญัติให้ใช้ถอ้ ยคาอื่นนอกจากคาว่า “ห้ามเปลี่ยนมือ” มาใช้เป็ นข้อต่อสู ้ F .ให้ท่านวินิจฉัย ว่าข้อต่อสู ้ฟังขึ้นหรื อไม่ เพราะเหตุใด ๔) C เจ้าของเช็คที่แท้จริ งจะเรี ยกเช็คคืนจาก F ได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด ธงคาตอบ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ข้ อสอบตั๋วเงิน ๑) A ออกเช็คฉบับหนึ่งให้ B โดยขีดคําว่า “หรื อผูถ้ ือ” ออก B สลักหลังโอนเช็คชําระหนี้ แก่ C C ทําเช็คหาย D เก็บได้จึงปลอมลายมือชื่อ C แล้วสลักหลังโอนขายลด เช็คให้ E ซึ่ง E ก็รับเช็คนั้นไว้ โดยสุ จริ ตและไม่ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง E ได้นาํ เช็คไปขึ้นเงินกับธนาคาร ธนาคารได้ใช้เงินไป ทางค้าปกติโดยสุ จริ ตและปราศจากความประมาทเลินเล่อ ให้ท่านวินิจฉัยว่าธนาคารหลุดพ้นจากความ รับผิดเพราะการที่ได้ใช้เงินไปแล้วหรื อไม่ และธนาคารมีสิทธิ หกั เงินจากบัญชีของ A ผูส้ ั่งจ่ายได้ หรื อไม่ และธนาคารต้องรับผิดใช้เงินให้แก่ C เจ้าของเดิมหรื อไม่ ๒) นางสาวอาร์ ออกเช็คสั่งธนาคารกรุ งไทย จํากัด ให้ใช้เงินแก่ นางสาวนก หรื อผูถ้ ือ จากนั้น นางสาวนก ได้ขีดคร่ อมเช็คและได้ลงข้อความว่า “ห้ามเปลี่ยนมือ ” เอาไว้ดา้ นหน้าของเช็ค จากนั้น นางสาวนก ทําเช็คหายนางสาวกบ เก็บเช็คได้ จึงส่ งมอบเช็คให้แก่ นางสาวเพียช ซึ่ งนางสาวเพียช ได้รับเช็คไว้โดยสุ จริ ต ให้ท่านวินิจฉัยว่า ก) นางสาวเพียช เป็ นผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมาย หรื อไม่ ข) หากไปเรี ยกเก็บเงินแล้ว ธนาคารปฏิเสธการใช้เงิน นางสาวเพียช จะเรี ยกให้ใคร รับผิดได้บา้ ง
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต การสอบกลางภาค ๑ ปี การศึกษา ๒๕๔๘ ข้ อสอบวิชา กฎหมายลักษณะตั๋วเงิน ชุ ดที่ ๒ (รหัสวิชา ๒๕๖๒๔๑๑) สอบวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๙ เวลา ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ น. คาชี้แจง ข้อสอบนี้เป็ นข้อสอบอัตนัย มี ๓ ข้อ จํานวน ๑ หน้า (คะแนนเต็มข้อละ ๒๐ คะแนน)
ให้นกั ศึกษาเขียนคําตอบลงในสมุดคําตอบทุกข้อ
ข้ อ ๑ นางสาวป้ อม ไม่พอใจที่นางกุ๋ยกรรมการคุมห้องสอบที่จบั ทุจริ ตตนได้ จึงได้จา้ งนายอ้วน ซึ่ งเป็ นนักเลง หัวให้ไปตีหวั นางกุ๋ย โดยตกลงจ้างกันเป็ นจํานวนเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท เมื่อทํางานเสร็ จ แล้ว นางสาวป้ อมได้ ร่ วมกันออกเช็คสัง่ นายเกลล์ ให้จ่ายเงินแก่อว้ น เป็ นผูร้ ับเงินเพื่อเป็ นค่าจ้าง และขีด ได้ฆ่าคําว่า “ผูถ้ ือ ” ออก วันรุ่ งขึ้นนาย อ้วน ได้สลักหลังเช็คชําระหนี้ค่ายาสี ฟันที่นายอ้วนซื้ อจากนางสาวไก่ เมื่อนางสาวไก่ นําเช็คไป เรี ยกเก็บเงินจาก นายเกลล์ ผูจ้ ่าย นายเกลล์ ปฏิเสธการจ่ายเงิน นางสาวไก่ จึงเรี ยกให้ นางสาวป้ อมในฐานะ ผู ้ สัง่ จ่ายใช้เงินตามเช็ค นางสาวป้ อม จะยกข้อที่ ว่าการจ่ายเช็คมีวตั ถุประสงค์ไม่ชอบด้วยกฎหมายขึ้นต่อสู ้ นางสาวไก่ได้หรื อไม่ ข้ อ ๒ นายอภิสิทธิ์ เจตนาออกตัว๋ แลกเงินสัง่ นายอภิรักษ์ ให้ใช้เงินแก่นายสามารถ จํานวน ๔๐,๐๐๐ บาท โดย ขีดคําว่า “หรื อผุถ้ ือ” ออก นอกจากนั้นการสัง่ จ่ายของนายอภิสิทธิ์ ยังมีขอ้ ความต่อไปอีกว่า “..ตัว๋ แลกเงินจะใช้ บังคับได้ต่อเมื่อเพื่อนของผูส้ งั่ จ่ายชื่อนายคล่อง สอบได้เป็ นเนติบณ ั ฑิตไทย …” ต่อมาสามารถ ได้โอนต่อไป ให้กบั นายทักษิณ ปรากฏว่า มีนายชิน เข้ ามารับอาวัล นายทักษิณ ต่อมาทักษิณ ได้ทาํ การโอนต่อให้กบั นาย เสนาะ ก่อนที่เสนาะจะโอนต่อไปให้กบั นางระเบียบ ได้มีนางสาวทาทายัง เข้าแสดงเจตนาอาวัลการใช้เงิน ของนายเสนาะ เมื่อถึงกําหนด ใช้เงินนางระเบียบ ไปเรี ยกเก็บเงินปรากฏว่า นายอภิรักษ์ ไม่จ่ายเงิน นาง ระเบียบจึงเรี ยกให้นางสาวทาทาใช้เงิน ให้ท่านวินิจฉัยว่า เนางระเบียบไปแล้วจะฟ้ องร้องไล่เบี้ยเอาแก่ใครได้ บ้าง
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ข้ อ ๓ นายชูวิทย์ ชวน นายบรรหาร ไปช่วยเลือกซื้ อเครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยเลือกซื้ อในราคา ๒๐,๐๐๐ บาท นางสาวแบม แต่ นายชูวิทย์ มีเงินไม่พอ จึงขอยืมเงินจาก นายบรรหาร แต่ นายบรรหาร ก็ไม่มีเงิน แต่มี เช็ค นายชูวิทย์ จึงขอยืมเช็คของ นายบรรหาร มากรอกข้อความและลงลายมือชื่อเป็ นผูส้ งั่ จ่ายให้ชาํ ระเงินแก่ นางสาวแบม หรื อผูถ้ ือ เพื่อชําระราคาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ให้แก่ นางสาวแบม แต่ นายบรรหาร ได้ขอดูเช็ค แล้วได้ลงลายมือในเช็คด้วย ต่อมา นางสาวแบม สลักหลังเช็ดดังกล่าวแก่ นางแจ่มใส เมื่อเช็คถึงกําหนด นาง แจ่มใส ผูท้ รงนําไปเรี ยกเก็บเงิน แต่ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน เช่นนี้ให้ท่านวินิจฉัยว่า นายชูวิทย์, นาย บรรหาร และ นางสาวแบม ต้องรับผิดต่อ นางแจ่มใส ผูท้ รงหรื อไม่ เพราะเหตุใด อ. ตรีเนตร สาระพงษ์
ขอให้ นักศึกษาโชคดีในการสอบ และอนุญาตให้ นักศึกษานาข้ อสอบออกนอกห้ อง สอบได้
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ข้ อสอบตัว๋ นิติ ม.อุบล ภาค 2/2550
ข้ อ 1 . ก) A ออกตัว๋ แลกเงินสัง่ B ให้ใช้เงิน โดยระบุชื่อ C เป็ นผูร้ ับเงิน C ได้สลักหลังโอนตัว๋ ให้กบั D จากนั้น D ได้ นําตัว๋ ไปยืน่ ให้ B รับรอง B ได้รับรองตัว๋ เงินแล้ว แต่เมื่อตัว๋ ถึงกําหนดใช้เงิน B ไม่ใช้เงิน D ได้ทาํ คําคัดค้านไว้โดยชอบ แล้ว หลังจากนั้น D ได้โอนตัว๋ เงินต่อไปให้กบั E ข) ถ้าข้อเท็จจริ งเปลี่ยนเป็ นว่า D ได้นาํ ตัว๋ ไปยืน ่ ให้ B รับรอง B ได้รับรองตัว๋ เงินแล้ว แต่เมื่อตัว๋ ถึงกําหนดใช้ เงิน B ไม่ใช้เงินแต่ D ไม่ได้ทาํ คําคัดค้านไว้ จากนั้น D ได้โอนตัว๋ เงินต่อไปให้กบั E ต่อไป ให้ท่านวินิจฉัยในข้อ ก) และข้อ ข) ว่า E ผูท้ รงจะไล่เบี้ยเอาแก่ใครให้ตอ้ งรับผิดตามตัว๋ เงินได้บา้ ง
ข้ อ 2. นายอภิสิทธิ์ เจตนาออกตัว๋ แลกเงินสัง่ นายอภิรักษ์ ให้ใช้เงินแก่ นายสามารถ จํานวน ๔๐,๐๐๐ บาท โดย ขีดคําว่า “หรื อผุถ้ ือ” ออก นอกจากนั้นการสัง่ จ่ายของนายอภิสิทธิ์ ยังมีขอ้ ความต่อไปอีกว่า “..ตัว๋ แลกเงินจะใช้ บังคับได้ต่อเมื่อเพื่อนของผูส้ งั่ จ่ายชื่อนายคล่อง สอบได้เป็ นเนติบณ ั ฑิตไทย …” ต่อมาสามารถ ได้โอนต่อไป ให้กบั นายทักษิณ ปรากฏว่า มีนายชิน เข้ ามารับอาวัล นายทักษิณ ต่อมาทักษิณ ได้ทาํ การโอนต่อให้กบั นาย เสนาะ ก่อนที่เสนาะจะโอนต่อไปให้กบั นางระเบียบ ได้มีนางสาวทาทายัง เข้าแสดงเจตนาอาวัลการใช้เงิน ของนายเสนาะ เมื่อถึงกําหนด ใช้เงินนางระเบียบ ไปเรี ยกเก็บเงินปรากฏว่า นายอภิรักษ์ ไม่จ่ายเงิน นาง ระเบียบจึงเรี ยกให้นางสาวทาทาใช้เงิน ให้ท่านวินิจฉัยว่า เนางระเบียบไปแล้วจะฟ้ องร้องไล่เบี้ยเอาแก่ใครได้ บ้าง ข้ อ 3. A ออกเช็คสัง่ ให้ธนาคาร B จ่ายเงินแก่ C หรื อผูถ้ ือเมื่อ C ได้รับเช็คมาแล้วปรากฏว่า C ทําเช็ค หาย D เก็บเช็คได้จึงได้นาํ ไปโอนชําระหนี้ให้กบั E โดย E ได้รับโอนมาโดยสุ จริ ตและไม่ประมาทแต่อย่าง ได ก) ให้ท่านวินิจฉัยว่า C ยังคงเป็ นผูท้ รงหรื อไม่ เพราะเหตุใด ข) หาก C เรี ยกให้ E คืนเช็คให้แก่ตน E จะต้องคืนเช็คให้แก่ C หรื อไม่ เพราะเหตุ
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ใด ค) หากข้อเท็จจริ งเปลี่ยนเป็ นว่าเมื่อ A ออกเช็คผูถ้ ือแล้วได้ทาํ เช็คหาย B เก็บเช็คได้ แต่ B ยังไม่ทนั ที่จะได้โอนเช็คให้กบั ใคร ให้ท่านวินิจฉัยว่า A เรี ยกเช็คคืนจาก B B จะต้องคืนเช็คให้แก่ A หรื อไม่ เพราะเหตุใด
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ข้ อสอบวิชากฎหมายตั๋วเงินและการใช้ ตั๋วเงิน
ข้ อ 1 A ออกเช็คสัง่ ให้ธนาคาร B ให้จ่ายเงินแก่ C หรื อผูถ้ ือ โดยมี ก.บุตรของ A เป็ นผูเ้ ขียนรายใน เช็ค โดยมี A เป็ นผูล้ งลายมือชื่อแต่แทนที่ A จะลงลายมือโดยเขียนเป็ นชื่อตัวเองกลับเขียนชื่อร้านค้าว่า “โฮม เบเกอรี่ ” ซึ่ งเป็ นชื่อแตกต่างกับตัวอย่างลายมือชื่อที่ให้ไว้กบั ธนาคาร B เมื่อ A ส่ งมอบเช็คให้ C แล้วได้สลัก หลังและส่ งมอบเช็คให้แก่ D จากนั้น D ได้ส่งมอบเช็คให้กบั E เมื่อเช็คถึงกําหนดใช้เงินปรากฏว่า B ผูจ้ ่ายไม่ ยอมจ่ายเงิน E จึงนําเช็คมาคืน D และรับเงินสดจาก D ไป ให้ท่านวินิจฉัยว่า D ไล่เบี้ยเอาจากใครได้บา้ ง หรื อไม่ ข้ อ 2 A ออกเช็คสัง่ ธนาคาร B เพื่อให้จ่ายเงินแก่ผถู ้ ือ เพื่อชําระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้รายหนึ่ง แต่ยงั ไม่ได้ ส่ งมอบเช็คให้แก่เจ้าหนี้ จึงได้เก็บเช็คเอาไว้ในลิ้นชักโต๊ะทํางาน เมื่อ C ซึ่ งเป็ นพนักงานของ A เห็นเข้าจึงได้ ขโมยเช็คดังกล่าว เมื่อ A ทราบว่าเช็คหายจึงได้บอกกล่าวอายัดแก่ธนาคาร ส่ วน C เมื่อได้เช็คไปแล้วได้นาํ ไป ชําระหนี้แก่ D โดยที่ D มิได้รู้เลยว่าเป็ นเช็คที่ C ขโมยมา เมื่อ D นําเช็คไปเรี ยกเก็บเงินจากธนาคาร B ธนาคาร ได้ปฏิเสธการจ่ายเงิน D จึงได้ฟ้องเรี ยกเงินจาก A ในฐานะผูส้ งั่ จ่าย A ต่อสูว้ า่ D ไม่ใช่ผทู ้ รงโดยชอบด้วย กฎหมายเพราะ D ได้รับโอนเช็คมาจาก C ซึ่ งขโมยเช็คมจากตน จึงไม่มีสิทธิ เรี ยกเก็บเงิน ให้ท่านวินิจฉัยว่า D เป็ นผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่ และ A ชอบที่จะยกข้อต่อสูด้ งั กล่าวขึ้นต่อสู ้ D ผูท้ รงได้หรื อไม่เพราะ เหตุใด ข้ อ 3 A ออกตัว๋ เงินสัง่ B .ให้จ่ายเงินโดยระบุชื่อ C เป็ นผูร้ ับเงิน และได้ขีดฆ่าคําว่า “หรื อผูถ้ ือ ” ออก และด้านหน้าตัว๋ เงินได้ระบุคาํ ว่า “A/C Payee only negotiable” เมื่อ C ได้รับตัว๋ เงินมาแล้ว มี D, E, F,ลงลายมือ ชื่อเอาไว้ดา้ นหลังตัว๋ โดยไม่มีถอ้ ยคําว่า “ใช้ได้เป็ นอาวัล ” หรื อสํานวนอื่นใดทํานองเดียวกัน จากนั้น C ได้ สลักหลังและส่ งมอบเพื่อเป็ นการโอนตัว๋ ต่อให้กบั D จากนั้น B ผูจ้ ่ายต้องการรับอาวัลการใช้เงินจึงได้ลง
เอกสารประกอบการบรรยายวิชากฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน ตรี เนตร สาระพงษ์
ลายมือชื่อด้านหน้าตัว๋ เงินโดยมิได้กรอกข้อความไดๆเอาไว้เลย และเมื่อตัว๋ ถึงกําหนด D ไปเรี ยกเก็บเงิน ปรากฏว่า B ปฏิเสธการจ่ายเงิน ให้ท่านวินิจฉัยว่า D จะเรี ยกให้ใครรับผิดตามตัว๋ เงินได้บา้ ง และให้วินิจฉัย ด้วยว่าต้องรับผิดในฐานะใด พร้อมยกเหตุผลประกอบ